mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นศ.มทร.ธัญบุรี พัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจากรถยนต์เครื่องเบนซิน

นศ.มทร.ธัญบุรี พัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจากรถยนต์เครื่องเบนซิน

0

              ดร.วินัย จันทร์เพ็ง อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดเผยว่า นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี นายภัทรพล คุณพรม และ นายธวัชชัย นวลจันทร์ ได้นำเสนอผลงานการวิจัยและพัฒนาการปรับเปลี่ยนและพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจากรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินขนาด 1500 ลบ.ซม.ซึ่งการปรับเปลี่ยนรถยนต์ที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิงเป็นรถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ เป็นนวัตกรรมที่ได้รับความสนใจมากในช่วงเวลานี้

               ในการปรับเปลี่ยนและพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจากรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินขนาด 1500 ลบ.ซม. ได้ทำการศึกษาหาขนาดต้นกำลังที่เป็นมอเตอร์ไฟฟ้า ขนาดแบตเตอรี่ ความเร็ว ความเร่ง ระยะเบรกของรถยนต์ไฟฟ้าอุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้ในการขับเคลื่อน รวมถึงระบบการชาร์จแบตเตอรี่ของรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจากการศึกษาและออกแบบระบบใช้มอเตอร์ขนาด 10 kW 96 V ใช้แบตเตอรี่กรดตะกั่วขนาด 12 V 130 A จำนวน 8 ลูก ต่อแบบอนุกรมจะได้กำลังทางไฟฟ้า 12.48 kW ความเร็วในการทดสอบการวิ่งของรถยนต์ไฟฟ้าไม่เกิน 60 km/h สามารถวิ่งได้ 45 km ต่อการชาร์จไฟแบตเตอรี่ ผลการทดสอบที่เกียร์ 3 อัตราเร่ง 0-50 km/h ใช้เวลา 16.47 วินาที, ที่เกียร์ 4 อัตราเร่ง 0-60 km/h เวลา 23.41 วินาที , ที่เกียร์ 5 อัตราเร่ง 0-60 km/h ใช้เวลา 29.32 วินาที ที่ความเร็วของรถยนต์ไฟฟ้า 60 km/h มีระยะ เบรกเท่ากับ 29.5 m

             อย่างไรก็ตามผลของการพัฒนาปรับเปลี่ยนและพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าจากรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เบนซินขนาด 1500 ลบ.ซม. ที่ใช้น้ำมันเชื้อเพลิง เหมาะสำหรับการปรับเปลี่ยนรถยนต์นั่งขนาดไม่เกิน 1500 ลบ. ชม. หรือมีมวลรถรวมไม่เกิน 1,300 กิโลกรัม ที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง ปรับเปลี่ยนเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ที่สามารถวิ่งได้ระยะทาง 45 km ในการชาร์จไฟต่อครั้ง ในการคำนวณออกแบบขนาดมอเตอร์ ขึ้นอยู่กับความเร็วของรถที่ต้องการน้ำหนักบรรทุก รูปแบบการวิ่ง ความต้านทานรวมของรถ เพื่อให้รถยนต์ไฟฟ้ามีสมรรถนะดีขึ้นและสามารถวิ่งได้ไกลขึ้น สามารถปรับเปลี่ยนแบตเตอรี่จากแบตเตอรี่กรดตะกั่วเป็นแบตเตอรี่ชนิดลิเทียมไอออน มีน้ำหนักเบา และให้พลังงานเหมาะสมกับรถยนต์ไฟฟ้า

ShareTweetShare
Previous Post

นศ.ป.โท มจธ. วิจัย “เกณฑ์ความเสียหายของวัสดุ” หวังยกระดับมาตรฐานการทดสอบวัสดุ ผลิตภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง

Next Post

“เท้าเทียมไดนามิกส์” นวัตกรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการขาขาด

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
37
น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า
นวัตกรรมด้านพลังงาน

น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

4 months ago
27
นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

5 months ago
22
Load More
Next Post
“เท้าเทียมไดนามิกส์” นวัตกรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการขาขาด

“เท้าเทียมไดนามิกส์” นวัตกรรมเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้พิการขาขาด

“ฟัวกราส์จากพืช” นวัตกรรมซูเปอร์ฟู้ดทดแทนตับห่าน อาหารทางเลือกตอบโจทย์คนรักสุขภาพ

“ฟัวกราส์จากพืช” นวัตกรรมซูเปอร์ฟู้ดทดแทนตับห่าน อาหารทางเลือกตอบโจทย์คนรักสุขภาพ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.