mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มข. เปิดตัว “Vallaris Maps Platform” เครื่องมือจัดการข้อมูลด้านภูมิศาสตร์

มข. เปิดตัว “Vallaris Maps Platform” เครื่องมือจัดการข้อมูลด้านภูมิศาสตร์

0

              รศ.ดร.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล รองผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปิดเผยว่า อุทยานวิทยาศาสตร์ มข. ร่วมกับ บริษัท ไอบิทซ์ จำกัด จัดกิจกรรม “NESP Unbox EP.3 เปิดตัว Vallaris Maps Platform” เครื่องมือสำหรับบริหารจัดการข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้การขับเคลื่อนให้เกิดระบบนิเวศนวัตกรรม (Eco-System) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการรับรู้ให้ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมของเอกชนผู้ใช้พื้นที่อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จ.ขอนแก่น) ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง โดยเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคการศึกษา ภาคเอกชน นักลงทุน และชุมชนท้องถิ่น เพื่อสร้างโอกาสในการต่อยอดธุรกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ Startup ภาคเอกขนให้เติบโตอย่างยั่งยืน

             ทั้งนี้ ได้จัดให้มีการเสวนาในประเด็นเรื่อง ความสำคัญและการขับเคลื่อนหน่วยงานด้วยข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ โดยได้ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ที่มีบทบาทในชีวิตประจำวันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งการรับมือต่อปัญหาแพร่ขยายของโรคระบาด การบุกรุกทำลายทางธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ข้อมูลเหล่านี้เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปลความ สื่อความหมาย และนำไปใช้งานได้ง่ายและแก้ไขสถานการณ์ได้ทันท่วงที

            สำหรับ Vallaris เป็นแพลตฟอร์มทางด้านภูมิศาสตร์ ที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูลด้านภูมิศาสตร์แก่หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนซึ่งกระจายกันอยู่หลายหลากที่ ไม่ว่าจะเป็น ไฟล์ หรือ ฐานข้อมูล ทำให้เมื่อต้องการใช้งานข้อมูลร่วมกันเป็นไปอย่างยากลำบาก โดย Vallaris จะมีเครื่องมือสำหรับนำเข้าข้อมูล ทำให้ข้อมูลถูกจัดเก็บอย่างมีระเบียบ เมื่อข้อมูลถูกจัดเก็บอย่างมีระเบียบแล้ว ช่วยให้สามารถนำข้อมูลทั้งที่เก็บอยู่ใน Vallaris เอง และจากแหล่งข้อมูลภายนอกมาวิเคราะห์ร่วมกันได้ โดยผู้ใช้งานออกแบบการแสดงผลบนแผนที่ได้ด้วยตนเอง สิ่งสำคัญคือผู้ใช้สามารถเรียกบริการแผนที่ (Map Service) และบริการข้อมูล (Data Service) ไปใช้งานได้อย่างง่าย สะดวก และรวดเร็ว ซึ่งในปัจจุบันมีความร่วมมือกับวิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อนำ Vallaris ไปใช้เป็นเครื่องมือหนึ่งในการเรียนการสอนด้านภูมิสารสนเทศ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายภายใต้โครงการ One Day Sharing UNI Project

             สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ 0-2278-7913 , อีเมล sales@i-bitz.co.th , Website: https://vallarismaps.com Facebook Fanpage : Vallaris Maps

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เครื่องตรวจหารอยลายนิ้วมือแฝงบนปลอกกระสุนปืน”

Next Post

นวัตกรรมใหม่จากเภสัชจุฬาฯ StemAktiv กระตุ้นเซลล์ต้นกำเนิด ฟื้นฟูสุขภาพผิว

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

4 months ago
30
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
37
แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

4 months ago
19
วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

5 months ago
30
Load More
Next Post
นวัตกรรมใหม่จากเภสัชจุฬาฯ StemAktiv กระตุ้นเซลล์ต้นกำเนิด ฟื้นฟูสุขภาพผิว

นวัตกรรมใหม่จากเภสัชจุฬาฯ StemAktiv กระตุ้นเซลล์ต้นกำเนิด ฟื้นฟูสุขภาพผิว

ซีพีเอฟ ใช้ “ระบบฟาร์มอัจฉริยะ” ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ ลดการพึ่งพายาปฏิชีวนะ

ซีพีเอฟ ใช้ “ระบบฟาร์มอัจฉริยะ” ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตว์ ลดการพึ่งพายาปฏิชีวนะ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.