mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
กรมชลฯ เปิดตัวนวัตกรรมบริหารจัดการน้ำ ตอบโจทย์การดำเนินชีวิตของคนในยุคดิจิทัล

กรมชลฯ เปิดตัวนวัตกรรมบริหารจัดการน้ำ ตอบโจทย์การดำเนินชีวิตของคนในยุคดิจิทัล

0

            อีกหนึ่งขั้นความก้าวล้ำทางเทคโนโลยีที่เป็นอีกเป้าหมายสำคัญของทาง “สบอ” สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน ซึ่งมุ่งมั่นตั้งใจพัฒนาระบบการทำงาน ด้วยการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการบริหารจัดการน้ำ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ถูกต้อง รวดเร็ว แม่นยำ

             “NEW STEP TO WATER MANAGEMENT ก้าวใหม่…สู่การบริหารจัดการน้ำ presented by สบอ.” จึงเป็นหนึ่งกิจกรรมเพื่อนำเสนอนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการน้ำล่าสุด โดยพัฒนาระบบคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง และผลงานการพัฒนาเครื่องมือสำรวจระยะไกล ที่จะนำมาช่วยประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยอันเกิดจากน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำมูลตอนล่าง ซึ่งทั้ง 2 โครงการได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดย นายพีระพงศ์ รัตนบุรี นายมาณพ พรมดี นายวชิระ สุรินทร์ วิศวกรชลประทานชำนาญการ สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา เป็นผู้จัดทำโครงการ และมี ดร.ธเนศร์ สมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา เป็นที่ปรึกษาโครงการและผู้ให้คำแนะนำ

             ผลงานการพัฒนาระบบคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง ได้นำเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการประมวลผล ด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานและสถานการณ์น้ำจากข้อมูล Big Data กรมชลประทาน มาใช้วิเคราะห์ ประเมิน คาดการณ์และช่วยวางแผนการบริหารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดกลางที่มีอยู่ทั่วประเทศในความรับผิดชอบของกรมชลประทาน จำนวน 412 แห่ง ในการบริหารจัดการน้ำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการน้ำครั้งนี้ คาดว่าจะช่วยลดผลกระทบปัญหาภัยแล้ง และอุทกภัยได้ทั้งในเขตและนอกเขตพื้นที่ชลประทานได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีการพัฒนาให้ข้อมูลทั้งหมดสามารถแสดงผลแบบออนไลน์ (Online) ผ่าน Web Application และทาง Mobile Application ให้ประชาชนได้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง สะดวก และเข้าใจง่ายมากยิ่งขึ้นอีกด้วย

             สำหรับเครื่องมือสำรวจระยะไกลสุดล้ำ เป็นการพัฒนาเครื่องมือสำรวจระยะไกล ขึ้นใช้เองซึ่งเป็น อากาศยานไร้คนขับชนิดปีกตรึงขึ้น-ลงแนวดิ่ง ที่มีราคาประหยัด สนับสนุนภารกิจด้านการบริหารจัดการน้ำ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยช่วยสำรวจพื้นที่ได้อย่างครอบคลุม สามารถวิเคราะห์และประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยอันเกิดจากน้ำ ทั้งภัยแล้งและอุทกภัย เพื่อเตรียมแผนการป้องกันและเตือนภัยได้อย่างทันท่วงที

              นวัตกรรมด้านบริหารจัดการน้ำ ดังกล่าว จะเป็นก้าวเริ่มต้นก้าวสำคัญ สู่ความล้ำหน้าทางเทคโนโลยี เพื่อใช้บริหารจัดการน้ำ ตอบโจทย์การดำเนินชีวิตของคนในยุคดิจิทัล ประชาชนสามารถติดตามได้ในงาน “NEW STEP TO WATER MANAGEMENT ก้าวใหม่…สู่การบริหารจัดการน้ำ presented by สบอ.” ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 7 – 9 มีนาคม 2565 นี้ ณ อาคาร 99 ปี หม่อมหลวงชูชาติ กำภู ชั้น 1 กรมชลประทาน ถนนสามเสน ซึ่งภายในงานจะมีการนำเสนอนวัตกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำที่น่าสนใจ โดยจะมีการเปิดงานในวันที่ 7 มีนาคม 2565 ซึ่งได้รับเกียรติจาก ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา กรมชลประทาน เป็นประธานพิธีเปิดงานครั้งนี้

ShareTweetShare
Previous Post

ประเมินอาการป่วยเบื้องต้นด้วยแอปฯ “Smart ICT MED” เจ็บป่วยรู้ทัน…อุ่นใจยั่งยืน

Next Post

มธ.คิดค้น “SIT TO STAND TRAINER” ช่วยผู้สูงอายุฝึกลุกยืน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

3 months ago
24
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
19
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

3 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

4 months ago
8
Load More
Next Post
มธ.คิดค้น “SIT TO STAND TRAINER” ช่วยผู้สูงอายุฝึกลุกยืน

มธ.คิดค้น “SIT TO STAND TRAINER” ช่วยผู้สูงอายุฝึกลุกยืน

นวัตกรรม “ไส้ต้นมันสำปะหลังดูดซับคราบน้ำมัน”  ไอเดียสุดเจ๋ง ! จากนศ.มจธ.

นวัตกรรม "ไส้ต้นมันสำปะหลังดูดซับคราบน้ำมัน" ไอเดียสุดเจ๋ง ! จากนศ.มจธ.

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.