mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
แอปพลิเคชั่น “iCassava” ช่วยปลูกมันสำปะหลัง พาเกษตรไทยสู่ยุค 4.0

แอปพลิเคชั่น “iCassava” ช่วยปลูกมันสำปะหลัง พาเกษตรไทยสู่ยุค 4.0

0

              กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ถือเป็นกองทุนชั้นนำในการผลักดันและเพิ่มขีดความสามารถการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยหนึ่งในภารกิจสำคัญได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง คือ การส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือหน่วยงานของภาครัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไป ในการดำเนินการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยการส่งเสริม สนับสนุน หรือให้ความช่วยเหลือดังกล่าวต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะและไม่เป็นการแสวงหากำไร โดยไม่เป็นการทำลายการแข่งขันอันพึงมีตามปกติวิสัยของกิจการภาคเอกชน

              ผศ.ดร. ปิยะ กิตติภาดากุล หัวหน้าภาควิชาพืชไร่นาคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ได้ศึกษาพบว่ามันสำปะหลัง เป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรกว่า 5.3 แสน ครอบคลุมพื้นที่ 50 จังหวัด รวมเนื้อที่เพาะปลูก 9.16 ล้านไร่ ผลผลิต 30.1 ล้านตัน ส่งผลให้ประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังมากเป็นอันดับ 3 ของโลก และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก และได้ลงพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรในจังหวัดต่าง ๆ พบว่า ยังขาดความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการแปลงปลูกให้มีประสิทธิภาพ ได้ผลผลิตสูงสุด เหตุเพราะ ขาดศูนย์กลางข้อมูลเผยแพร่ที่ถูกต้อง โดยเฉพาะองค์ความรู้ต่าง ๆ

                ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการยื่นเสนอโครงการการวิจัยและพัฒนาระบบสนับสนุนการปลูกอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและคุณภาพของมันสำปะหลัง เพื่อขอรับการสนับสนุนทุนจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อมุ่งเน้นการพัฒนา และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่าด้วยการใช้นวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการตลาด ช่วยลดค่าใช้จ่ายสร้างโอกาสความสามารถในการแข่งขัน สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรไทย รวมทั้งการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ไปสู่เกษตรอัจฉริยะ

             ภายใต้การสนับสนุนทุนของกองทุนพัฒนาดิจิทัลฯ จึงทำให้ ดร.ปิยะ และคณะผู้วิจัย สามารถเดินหน้าโครงการฯ จนประสบความสำเร็จ และนำมาสู่การสร้างแอพพลิเคชัน icassava ที่มีระบบศูนย์กลางความรู้ และมีเครื่องมือที่เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง อันจะส่งผลให้การปลูกมันสำปะหลัง ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น มีรายได้ที่ดีขึ้น

             ดร.ปิยะ ชี้ว่า แอปพลิเคชัน icassava เป็นเครื่องมือเผยแพร่ความรู้ด้านมันสำปะหลัง แชร์ประสบการณ์ ทักษะ การปลูกการจัดการแปลงปลูก ด้วยฟังก์ชันหลักที่ประกอบด้วย

1. วิธีจำแนกพันธุ์ เป็นฟังก์ชันสำหรับช่วยเกษตรกร ผู้ปลูกมันสำปะหลังในการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังโดยเลือกลักษณะพันธุ์ที่สำคัญของมันสำปะหลังจากสองส่วนหลัก ๆ คือ สียอด (สีใบอ่อน) และสีก้านใบ ระบบจะแสดงรายละเอียดของพันธุ์มันสำปะหลังที่ตรงกับลักษณะพันธุ์ที่เลือก

2. แปลงของฉัน โดยเกษตรกรจะต้องเป็นสมาชิกและเข้าสู่ระบบเพื่อบันทึกพื้นที่ปลูก จำนวนแปลง สร้างปฏิทินการปลูก และดูระดับความแข็งแรงของมันสำปะหลัง

3. เตือนภัยโรคแมลง เป็นฟังก์ชันที่ช่วยในการแจ้งเตือนภัยให้เกษตรกรสมาชิก ในกรณีที่พบว่าเกิดโรคภัยต่าง ๆ ที่อาจจะส่งผลกระทบต่อมันสำปะหลังที่ปลูก ซึ่งจะมีการแจ้งเตือนภัยโรคแมลงทั้งทางเว็บไซต์และแอพพลิเคชันบนมือถือ

4. ข่าวสาร โดยรวบรวมข้อมูลข่าวสารน่าสนใจเกี่ยวกับมันสำปะหลัง เพื่อให้ผู้เข้าชมสามารกเปิดดูได้ง่าย

5. กระดานถาม-ตอบ ประกอบด้วย FAQ คำถามที่พบบ่อย การใช้งานระบบ เทคนิคการปลูก และอื่น ๆ ที่ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวก

6. องค์ความรู้ เกษตรกรผู้ใช้งานสามารถสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับพันธุ์โรค และองค์ความรู้ทั่วไปของมันสำปะหลังได้โดยง่าย

              จากการพัฒนาดังกล่าว ช่วยสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังได้อย่างดี ทำให้สามารถติดตามความสมบูรณ์ของต้นมันสำปะหลัง และจัดการแปลงปลูกได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างได้อย่างทันท่วงที และนำไปสู่การได้ผลผลิตในปริมาณที่ควรจะเป็น อันนำมาสู่รายได้ที่เพิ่มมากขึ้น เพราะการเล็งเห็นถึงความสำคัญในการช่วยพัฒนาเกษตรไทยสู่ยุค 4.0 ของกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้ให้การอุดหนุนทุนจนเกิดผลงานการวิจัยพัฒนา จนนำมาสู่การสร้างอนาคตที่ดีให้แก่เกษตรกร ดังเช่น โครงการการวิจัยและพัฒนาระบบสนับสนุนการปลูกอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและคุณภาพของมันสำปะหลัง ได้ก้าวไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง อย่างยั่งยืน ตามการพัฒนาประเทศสู่ “ไทยแลนด์ 4.0”

ShareTweetShare
Previous Post

สวทช. คิดค้น “ชุดตรวจ Strip test” ตรวจโรคใบด่างมันสำปะหลังอย่างรวดเร็ว รู้ผลใน 15 นาที

Next Post

ทีมนักศึกษาวิศวฯ มจธ. กวาด 3 รางวัลสุดยอดนักออกแบบสถานีชาร์จรถไฟฟ้า

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

10 months ago
40
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

10 months ago
48
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

10 months ago
38
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

10 months ago
16
Load More
Next Post
ทีมนักศึกษาวิศวฯ มจธ. กวาด 3 รางวัลสุดยอดนักออกแบบสถานีชาร์จรถไฟฟ้า

ทีมนักศึกษาวิศวฯ มจธ. กวาด 3 รางวัลสุดยอดนักออกแบบสถานีชาร์จรถไฟฟ้า

นวัตกรรม “เสาจราจรล้มลุกจากยางธรรมชาติ” ยืดหยุ่นสูง ทนแรงปะทะได้ดี

นวัตกรรม “เสาจราจรล้มลุกจากยางธรรมชาติ” ยืดหยุ่นสูง ทนแรงปะทะได้ดี

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    100 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    82 shares
    Share 33 Tweet 21
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.