mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
เด็กเทคนิคแม่สอด คิดค้น “Home Care” ระบบติดตามช่วยเหลือประเมินผู้ป่วยโควิดแบบรักษาที่บ้าน

เด็กเทคนิคแม่สอด คิดค้น “Home Care” ระบบติดตามช่วยเหลือประเมินผู้ป่วยโควิดแบบรักษาที่บ้าน

0

             สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 มีแนวโน้มจำนวนผู้ติดเชื้อที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่มีอาการรุนแรง โดยปัจจุบันแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขในส่วนของการจัดระบบเพื่อรองรับผู้ติดเชื้อโควิด-19 คือ หากเป็นผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรง จะเน้นที่การดูแลรักษาที่บ้าน หรือ Home Isolation เพื่อเพิ่มโอกาสรักษาให้ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล และลดความแออัดในโรงพยาบาลอีกด้วย

               นายวรากร ศิริธัญเดช นักศึกษาชั้นปวช.3 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคแม่สอด จังหวัดตาก เล่าว่า เมื่อเดือนกันยายน 2564 เป็นช่วงที่ผมออกฝึกงานในอำเภอแม่สอด ซึ่งเป็นช่วงที่โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้าระบาดหนักมาก ผมมีอาการคล้ายๆกับติดโควิด จึงขอหยุดพักฝึกงานกับสถานประกอบการ เพื่อเฝ้าดูอาการและรักษาตัวอยู่ที่บ้าน ต่อมาสถานประกอบการก็ประสานกับโรงพยาบาลให้ผมเข้าไปตรวจหาเชื้อซึ่งผลตรวจออกมาเป็นบวก ผมติดเชื้อ โควิด-19 ทำให้ต้องรักษาตัวถึง 21 วัน ในระหว่างนั้นก็ได้ลงชื่อเข้าระบบเป็นผู้ป่วยโควิด-19 ซึ่งทางโรงพยาบาลก็ได้ทำการนัดหมายวันให้เข้าไปตรวจโรคกับเอกซเรย์ปอด พอถึงวันนัดหมาย โรงพยาบาลก็จัดรถมารับ เมื่อตรวจสุขภาพกับเอกซเรย์ปอดเรียบร้อยแล้ว ผลตรวจออกมาเป็นลบ และเชื้อไม่ลงปอด ทางคุณหมอก็ได้ให้กักตัวต่อประมาณ 7 วัน และสแกนไลน์เพื่อเข้ากลุ่มผู้ป่วยโควิด-19 เพื่อบอกอาการประจำวันหลังจากตรวจเสร็จ วันต่อมา ผมได้กรอกอาการต่างๆ และส่งข้อความนี้เข้ากลุ่มไลน์นั้น ซึ่ง เมื่อส่งข้อมูลไปแล้วแต่ด้วยความที่มีผู้ป่วยจำนวนมาก ข้อมูลของผมก็เลยถูกเลื่อนผ่านไป ตอนนั้นผมกังวลมากๆ กลัวว่าคุณหมออาจจะไม่เห็นข้อมูลของผม ผมเลยเห็นถึงปัญหาในการส่งข้อมูลอาการประจำวันให้กับคุณหมอและเกิดแนวคิดที่จะสร้างระบบติดตาม ช่วยเหลือและประเมินตนเองสำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่ดูแลตนเองที่บ้านขึ้นมา เพื่อสะดวกต่อการส่งข้อมูลให้กับคุณหมอและลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปหาหมออีกด้วย

             นายวรากร เล่าต่อไปอีกว่า ระบบติดตาม Home Care ช่วยเหลือและประเมินตนเองสำหรับผู้ป่วยโควิค-19 ช่วยในการวินิจฉัยรักษา ติดตามอาการโรคโควิด-19 ที่รักษาตนเองที่บ้าน (Home Isolation) สามารถประมวลผล และแบ่งระดับความรุนแรงของโรคได้ 3 ระดับ ตามเกณฑ์ของสาธารณสุข ได้แก่ ผู้ป่วยระดับสีเขียว ซึ่งวัดจากผู้ที่มีออกซิเจนในเลือดมากกว่า 95% หากน้อยกว่า 95% ก็จะเกณฑ์เข้ามาตรการ “เจอ แจก จบ” โดยจะมีการนัดหมายเข้ามาเอกซเรย์ปอด ผ่านระบบ LINE Official Home Care ในผู้ป่วยระดับสีเหลือง-เหลืองเข้ม ที่ระบบติดตามวัดจากผู้ที่มีออกซิเจนในเลือดน้อยกว่า 95% และมีโรคประจำตัว จะมีการนัดหมายเข้าเอกซเรย์ปอด ผ่านระบบ LINE Official Home Care และ นัดจ่ายยาเข้าระบบการรักษา และติดตามอาการผ่านระบบ และผู้ป่วยระดับสีแดง จะมีการนัดหมายเข้าเอกซเรย์ปอด ผ่านระบบLINE Official Home Care และ นัดจ่ายยาเข้าระบบการรักษา และส่งรถไปรับเข้าทำการรักษา โดยระบบนี้ถูกพัฒนาภายใต้การควบคุมของแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ ทำให้มีความแม่นยำในการแบ่งกลุ่มอาการและเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทันท่วงที รวมถึงการบันทึกผล ATK ที่บ้านได้ และส่งตรงเข้าสู่ระบบยืนยันว่าป่วยจริง โดยจะแจ้งนัดเอกซเรย์ปอด และการเข้ารับการรักษา พร้อมทั้งแสดงผลรายงานอาการประจำวันของผู้ป่วยให้กับบุคคลากรทางการแพทย์ได้

              โดยวิธีใช้งานในส่วนของผู้ใช้งานเริ่มจากลงทะเบียนผ่านระบบ Home care โดยการสแกนคิวอาร์โค้ด (QR-Code) และตั้งค่า Line official ซึ่งจะทำหน้าที่เพื่อแจ้งเตือนผู้ป่วยให้บันทึกอาการประจำวัน และ บันทึกค่าอุณหภูมิ ออกซิเจนในเลือด และชีพจร วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 10 วัน ตรวจสอบกำหนดวันที่เข้ารับการกักตัวและออกจากการกักตัวเองได้ บันทึกผล ATK ให้กับบุคลากรทางการแพทย์ได้ ดูนัดหมายเอกซเรย์ปอด วิธีการปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์ และมีช่องทางติดต่อในกรณีฉุกเฉินหรือมีอาการวิตกกังวล ส่วนของบุคลากรทางการแพทย์ ระบบ Home Care ได้จัดทำ User แจกให้กับโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล และสถานพยาบาลในเครือได้ใช้งาน ตรวจสอบความผิดปกติของคนไข้ได้ และแสดงผลรายงานอาการประจำวันของคนไข้ได้ โดยแพทย์ให้คำแนะนำผ่านระบบได้ พร้อมทั้งแจ้งนัดเอกซเรย์ปอด และทำการเข้ารักษาในกรณีฉุกเฉิน ซึ่งระบบติดตาม ช่วยเหลือและประเมินตนเองสำหรับผู้ป่วยโควิค-19ทำให้การติดตามอาการและการรักษาไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง รวมถึงบุคลากรทางแพทย์ที่มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้อัตราการเข้ารับการวินิจฉัย ได้ไม่ทันท่วงทีส่งผลต่ออัตราการเสียชีวิตเป็นจำนวนมาก คลายความกังวลของผู้ป่วยไปได้มาก

               โดยปัจจุบันวิทยาลัยเทคนิคแม่สอด ได้ทำความร่วมมือกับโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก ซึ่งมีคนไข้เข้าใช้งานในระบบ Home Care มากกว่า 600 คน ทดสอบใน 4 เขตพื้นที่การรักษา ได้แก่ คลินิกหมอครอบครัวโรงพยาบาลแม่สอด คลินิกชุมชนอบอุ่นโรงพยาบาลแม่สอด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ปะ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าสายลวด โดยอนาคตหากโรคโควิด-19หมดไป ก็จะนำระบบมาพัฒนาไว้ใช้ดูแลรักษากับผู้ป่วยโรคเรื้อรังอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดัน ต่อไป ทั้งนี้ สนใจระบบ Home Care ระบบติดตาม ช่วยเหลือและประเมินตนเองสำหรับผู้ป่วยโควิค-19 ติดต่อรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ครูภูธนพัฒน์ ปันแก้ว ครูสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคนิคแม่สอด จังหวัดตาก โทร.093-239-2914

ShareTweetShare
Previous Post

หมดปัญหาน้ำมะนาวราคาแพง ! “มะนีมะนาว” นวัตกรรมน้ำมะนาวแช่แข็งเกรดพรีเมียม

Next Post

มทร.ศรีวิชัย พัฒนา “ครีมกันแดดจากสารสกัดสาหร่ายขนนก” ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคผิวหนัง

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

7 months ago
42
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

7 months ago
26
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

7 months ago
103
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

8 months ago
56
Load More
Next Post
มทร.ศรีวิชัย พัฒนา “ครีมกันแดดจากสารสกัดสาหร่ายขนนก” ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคผิวหนัง

มทร.ศรีวิชัย พัฒนา “ครีมกันแดดจากสารสกัดสาหร่ายขนนก” ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรคผิวหนัง

ม.มหิดล คิดค้น  “สต๊าซ STAAS หยุด-คิด-ถาม-ทำ” เกมออนไลน์เพื่อผู้สูงวัยรู้ทันสื่อ

ม.มหิดล คิดค้น “สต๊าซ STAAS หยุด-คิด-ถาม-ทำ” เกมออนไลน์เพื่อผู้สูงวัยรู้ทันสื่อ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    66 shares
    Share 26 Tweet 17
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    61 shares
    Share 24 Tweet 15

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
163

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
57

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
30

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
42

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
32
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.