mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “VirionQ PPE” ชุดป้องกันทางการแพทย์กำจัดไวรัสใน 30 นาที ฝีมือคนไทย

นวัตกรรม “VirionQ PPE” ชุดป้องกันทางการแพทย์กำจัดไวรัสใน 30 นาที ฝีมือคนไทย

0

             ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โชว์ผลงาน “VirionQ PPE ชุดป้องกันทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพกำจัดไวรัส” รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับดี ปี 2565 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ จัดแสดงในงานวันนักประดิษฐ์ ประจำปี 2564-2565 เผยช่วยกำจัดเชื้อไวรัสบนพื้นผิวชุด PPE ได้ภายใน 30 นาที ให้บุคลากรทางการแพทย์ใช้ดูแลผู้ป่วยได้อย่างมั่นใจ พร้อมต่อยอดสู่ภาคธุรกิจ

             ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์ เปิดเผยว่า ปัจจุบัน บุคลากรทางการแพทย์มีความจำเป็นต้องใช้ชุดป้องกันส่วนบุคคล หรือ ชุด PPE เพื่อใช้ดูแลและคัดกรองผู้ป่วย โดยเฉพาะโรคโควิด-19 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ชุด PPE ที่ใช้อยู่ทั่วไป เป็นแบบใช้แล้วทิ้ง ไม่สามารถนำกลับมาใช้งานได้อีก รวมทั้งมีประสิทธิภาพในการป้องกันเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้ ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดหาชุดป้องกันอยู่ตลอด จึงได้คิดค้นและพัฒนาชุดป้องกันทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพกำจัดไวรัส VirionQ PPE ขึ้น และได้นำไปต่อยอดผลิตและจำหน่ายร่วมกับภาคเอกชน คือ บริษัท Thaimedlab เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางต่อไป

              การพัฒนาชุด VirionQ PPE ฝีมือคนไทยนี้ มีการใช้วัสดุนาโน ที่ผลิตโดย Green Nanotechnology ที่มีคุณสมบัติในการกำจัดเชื้อไวรัส และไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายมนุษย์ ได้แก่ Cuprous Oxide Nanoparticles,Silver Nanoparticles และ Gold Nanoparticles พ่นเคลือบลงบนวัสดุพื้นผิวผ้าของชุด PPE ด้วยการใช้คลื่นอัลตราโซนิก พ่นละอองของเหลวที่มีขนาดเล็กถึง 5 ไมโครเมตร (Aerosal coating) ซึ่งของเหลวจะระเหยเป็นไอ ทำให้สารที่ออกฤทธิ์ ฆ่าเชื้อไวรัส กลายเป็นผลึกยึดเกาะบนผ้าได้เป็นระยะเวลานาน เมื่อเชื้อโรคสัมผัสบนผิวผ้าที่เคลือบด้วยวัสดุนาโน จะเกิดการปฏิกิริยาออกซิเดชัน ทำให้ผนังเซลล์ของเชื้อไวรัสแตกออก จึงสามารถกำจัดเชื้อไวรัสบนผิวผ้าได้ ภายในเวลา 30 นาที นอกจากนี้ ยังสามารถใช้งานร่วมกับ เครื่องพ่นละอองไอไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ VQ20 30-50% ที่พัฒนาไว้ก่อนหน้านี้ เพื่อทำการฆ่าเชื้อไวรัสบนชุด PPE ได้อีกทางหนึ่ง

              ผู้สวมใส่ชุด VirionQ PPE สามารถป้องกันการติดเชื้อไวรัสผ่านการสัมผัสชุด หรือการติดต่อผ่าน Contract transmission ได้ ลดความกังวลในการดูแลรักษาผู้ป่วย และช่วยลดอัตราการติดเชื้อของผู้สวมใส่ได้เป็นอย่างมาก อีกทั้ง ลดภาระการจัดหาชุด PPE แบบใช้แล้วทิ้งของบุคลากรทางการแพทย์ ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันให้กับชุด PPE ให้ดีขึ้นกว่าแบบเดิม นอกจากนี้ ยังช่วยยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตชุดป้องกันส่วนบุคคลในประเทศไทย ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกอีกด้วย

ShareTweetShare
Previous Post

คลอโรฟิลล์สกัดพร้อมชงจากผักตบชวา เพิ่มมูลค่าวัชพืชไร้ค่าเหลือทิ้ง สร้างผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

Next Post

ม.มหิดล ร่วมพัฒนานวัตกรรม “เครื่องวัดรังสีคอสมิกในอวกาศ” รับภารกิจส่งดาวเทียมไทยโคจรรอบโลก

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
23
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

3 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
79
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
22
Load More
Next Post
ม.มหิดล ร่วมพัฒนานวัตกรรม “เครื่องวัดรังสีคอสมิกในอวกาศ” รับภารกิจส่งดาวเทียมไทยโคจรรอบโลก

ม.มหิดล ร่วมพัฒนานวัตกรรม “เครื่องวัดรังสีคอสมิกในอวกาศ” รับภารกิจส่งดาวเทียมไทยโคจรรอบโลก

นวัตกรรม “หอมข้าว” อุปกรณ์ตรวจสอบความหอมในข้าวหอมมะลิด้วย AI

นวัตกรรม "หอมข้าว" อุปกรณ์ตรวจสอบความหอมในข้าวหอมมะลิด้วย AI

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.