mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “เตาชีวมวลเพื่อผลิตก้อนเพาะเห็ด” ตอบสนองความต้องการเกษตรกรผู้เพาะเห็ด

นวัตกรรม “เตาชีวมวลเพื่อผลิตก้อนเพาะเห็ด” ตอบสนองความต้องการเกษตรกรผู้เพาะเห็ด

0

              กระทรวงการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์   วิจัยและนวัตกรรม   (อว.)  สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย  (วว.) โดย ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดเทคโนโลยีเตาชีวมวลเพื่อผลิตก้อนเพาะเห็ด ภายใต้โครงการสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเหมาะสมเพื่อชุมชน  (CTAP)  ให้แก่ กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ดบ้านโพธิ์พร้อมจิต ซึ่งเป็นต้นแบบของการดำเนินโครงการฯ และเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาและปรับปรุงเตาชีวมวลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเห็ดอย่างเป็นรูปธรรม

              โดยการสนับสนุนของสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสระบุรี  การถ่ายทอดเทคโนโลยีดังกล่าวประกอบด้วย กิจกรรมการสาธิตวิธีการใช้งาน การบำรุงรักษา และแก้ไขปัญหาเบื้องต้น รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่มเกษตรกรและนักวิจัย วว.  โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างเครือข่ายระหว่างเกษตรกรด้วยกันเอง รวมทั้งเครือข่ายการดำเนินงานระหว่างเกษตรกรและภาครัฐเพื่อให้เกิดความยั่งยืนต่อไป

             ทั้งนี้  วว.  โดย ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม ประสบผลสำเร็จในการวิจัยและพัฒนา เตาชีวมวลเพื่อชุมชน ซึ่งมีคุณลักษณะพิเศษด้านการออกแบบเพื่อประหยัดพลังงาน ดังนี้ 1. มีการออกแบบให้อากาศไหลเวียนอย่างเหมาะสม จึงทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ และคายความร้อนออกมาได้มาก 2. มีช่องว่างอากาศภายในเตา ทำหน้าที่เป็นฉนวนกันการสูญเสียความร้อน และเกิดการไหลเวียนของออกซิเจนภายในเตาได้อย่างเหมาะสม 3.สามารถกำหนดทิศทางการไหลของแก๊สร้อนและแก๊สเสียได้อย่างลงตัว ทำให้นำความร้อนทิ้ง กลับมาใช้ได้ มีการใช้ปริมาณไม้ 15-21 กิโลกรัม  ถ่าน 5- 7 กิโลกรัม   ขึ้นอยู่กับความชื้นในไม้และถ่าน มีค่าความร้อน 32,500-45,500 Kcal/kg (กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัม)  อุณหภูมิภายในเตา (เชื้อเพลิงไม้)  500-600 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิภายในเตา (เชื้อเพลิงถ่าน)  600-800 องศาเซลเซียส

             สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม  รับคำแนะนำปรึกษา และรับบริการด้านวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและนวัตกรรม จาก วว.  ติดต่อได้ที่  โทร. 0 2577 9000   โทรสาร  0 2577 9009  เว็บไซต์ www.tistr.or.th   อีเมล tistr@tistr.or.th  Line@TISTR

ShareTweetShare
Previous Post

สำเร็จ! ข้อสะโพกเทียมฝีมือคนไทย เพื่อผู้สูงวัยเดินได้

Next Post

ศูนย์ฝึกทักษะการแพทย์เสมือนจริง จุฬาฯ คว้ามาตรฐานระดับโลก

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

3 months ago
24
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
19
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

3 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

4 months ago
8
Load More
Next Post
ศูนย์ฝึกทักษะการแพทย์เสมือนจริง จุฬาฯ คว้ามาตรฐานระดับโลก

ศูนย์ฝึกทักษะการแพทย์เสมือนจริง จุฬาฯ คว้ามาตรฐานระดับโลก

นวัตกรรม “MagikTuch” ปุ่มกดลิฟต์ไร้สัมผัส  ช่วยลดความเสี่ยงจากการสัมผัส

นวัตกรรม “MagikTuch” ปุ่มกดลิฟต์ไร้สัมผัส ช่วยลดความเสี่ยงจากการสัมผัส

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.