mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรมเครื่องทอดสุญญากาศ ลดต้นทุนการผลิต ตอบโจทย์ผู้บริโภค

นวัตกรรมเครื่องทอดสุญญากาศ ลดต้นทุนการผลิต ตอบโจทย์ผู้บริโภค

0

              กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) มุ่งเน้นให้บริการ Shared Service เสริมแกร่งผู้ประกอบการ เปิดตัว นวัตกรรมเครื่องทอดสุญญากาศ ช่วยลดต้นทุนการผลิตด้านแปรรูปผลผลิตการเกษตร ตอบโจทย์ผู้บริโภค ระบุปริมาณการทอดต่อรอบ 65 กิโลกรัมต่อครั้ง น้ำมันทอดในระบบนำมาใช้ซ้ำได้ 20 ครั้ง โดยยังมีประสิทธิภาพดี ปลอดภัยต่อสุขภาพ เนื่องจากเป็นการทอดระดับสุญญากาศ -720 มิลลิเมตรปรอท ทำให้ผลิตภัณฑ์แปรรูปมีมูลค่าสูงขึ้น ไม่อมน้ำมัน มีอายุการเก็บรักษา 1 ปี โดยยังคงคุณภาพด้าน กลิ่น สี รสชาติของผลผลิต ใกล้เคียงธรรมชาติ

              ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า วว. มุ่งเน้นให้บริการ Shared Service เพื่อส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการด้วยองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ให้มีความเข้มแข็งในการประกอบธุรกิจ มีศักยภาพด้านขีดความสามารถการแข่งขันทั้งภายในและต่างประเทศ “นวัตกรรมเครื่องทอดสุญญากาศ” เป็นผลงานล่าสุด ซึ่ง โรงงานบริการนวัตกรรมอาหาร (FISP) ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารสุขภาพ วว. วิจัยและพัฒนาขึ้น เป็นการให้บริการใหม่ของ วว. เพื่อตอบสนองให้กับผู้ประกอบการหรือผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการเป็นผู้ประกอบการ ในด้านการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ อาทิ ทุเรียน ขนุน กล้วย สับปะรด ฟักทอง มันเทศ กระเจี๊ยบ เป็นต้น ทั้งนี้การประกอบธุรกิจอาหารสุขภาพมีความจำเป็นยิ่ง ที่ต้องนำเทคโนโลยีเข้าไปช่วยให้กระบวนการผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน

              เครื่องทอดสุญญากาศ หรือ Vacuum fryer มีปริมาณการทอดต่อรอบ 65 กิโลกรัม/ครั้ง สร้างระดับสุญญากาศสูงสุดได้ถึง -720 มิลลิเมตรปรอท อุณหภูมิที่ใช้ในการทอด 80-95 องศาเซลเซียส โดยใช้เวลาทอด 60-80 นาที/ครั้ง (ขึ้นกับประเภทวัตถุดิบ) ปริมาณน้ำมันที่ใช้ในการทอดต่อรอบจำนวน 600 ลิตร สามารถนำน้ำมันมาใช้ทอดซ้ำได้ถึง 20 ครั้งต่อน้ำมัน 1 รอบ โดยน้ำมันยังมีประสิทธิภาพดีและปลอดภัยต่อสุขภาพ ระบบสลัดน้ำมันภายหลังการทอดใช้เวลา 25 นาที กำลังการผลิตต่อการใช้น้ำมัน 1 รอบ (600 ลิตร) ประมาณ 1,000-1,300 กิโลกรัม โดยผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทอดมีคุณภาพสม่ำเสมอ ไม่อมน้ำมัน ถูกหลักอนามัย มีอายุการเก็บรักษาได้ 1 ปี และคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านกลิ่น สี รสชาติ ยังคงใกล้เคียงธรรมชาติ

              “วว. พร้อมให้บริการและพร้อมเป็นหุ้นส่วนในความสำเร็จของผู้ประกอบการทุกท่าน สามารถติดต่อสอบถามเพื่อเข้ามาใช้บริการกับ วว. ได้ที่ โทร. 0 2577 9000 หรือมาติดต่อได้ที่สำนักงาน ณ เทคโนธานี คลองห้า จังหวัดปทุมธานี นักวิจัยของเราพร้อมให้คำแนะนำแก่ท่าน ในการเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ความต้องการของท่าน เราพร้อมช่วยสานฝันของท่านให้สำเร็จเป็นรูปธรรมด้วยราคามิตรภาพ เนื่องจาก วว. ต้องการสนับสนุนให้เกิดผู้ประกอบการใหม่และช่วยพัฒนาศักยภาพให้กับผู้ประกอบการเดิม โดยที่ท่านไม่ต้องลงทุนด้านเทคโนโลยี” ผู้ว่าการ วว. กล่าว

ShareTweetShare
Previous Post

Wonder Waste เปลี่ยนขยะให้เป็นพลังงานไฟฟ้าแบบสุดคูล !

Next Post

“อินนูลินจากแก่นตะวัน” สร้างสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ ลดโรคอ้วน โดยทีมวิจัย จุฬาฯ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
“อินนูลินจากแก่นตะวัน” สร้างสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ ลดโรคอ้วน โดยทีมวิจัย จุฬาฯ

“อินนูลินจากแก่นตะวัน” สร้างสมดุลจุลินทรีย์ในลำไส้ ลดโรคอ้วน โดยทีมวิจัย จุฬาฯ

มรภ.เชียงใหม่ คิดค้น “แผ่นผักลดระดับน้ำตาลในเลือด”  นวัตกรรมจากสารสกัดเมล็ดและเปลือกมะม่วง

มรภ.เชียงใหม่ คิดค้น “แผ่นผักลดระดับน้ำตาลในเลือด” นวัตกรรมจากสารสกัดเมล็ดและเปลือกมะม่วง

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.