mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
นวัตกรรม “แท่นจับเลื่อยตัดกระดูก” แบบแม่นยำ ลดการติดเชื้อในการผ่าตัด

นวัตกรรม “แท่นจับเลื่อยตัดกระดูก” แบบแม่นยำ ลดการติดเชื้อในการผ่าตัด

0

                นวัตกรรม “แท่นจับเลื่อยตัดกระดูกเพื่อความง่ายและแม่นยำ” เป็นผลงานของ ดร.ทศพร เฟื่องรอด นักวิจัยจากวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ศรีสวางวัฒน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ซึ่งได้เล่าให้ฟังถึงแนวคิดว่า หนึ่งในปัญหาที่พบบ่อยของการปฏิบัติการทางคลินิกในห้องผ่าตัดกระดูก ข้อจำกัดและอุปสรรคในการใช้อุปกรณ์เลื่อยตัดกระดูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งแพทย์ศัลยกรรมกระดูกที่มีประสบการณ์ดังกล่าวหรือแพทย์ศัลยกรรมที่เพิ่งจบใหม่ ส่งผลให้การตัดกระดูดไม่เรียบ และมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดได้ในระหว่างการผ่าตัด ซึ่งอาจส่งผลต่อผลลัพธ์ของการรักษาได้ นอกจากนี้เลื่อยตัดกระดูกแบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ยังพบปัญหา อาทิเช่น ขาดความสามารถในการรับแรงและควบคุมเลื่อยระหว่างการผ่าตัด ยังไม่สามารถวัดมุมในการตัดกระดูกได้ ดังนั้นการตัดกระดูกจึงเป็นการคาดคะเนมุมโดยประมาณ ยังขาดความแม่นยำของมุมในการผ่าตัดกระดูกเปลี่ยนแนวสำหรับผู้ป่วยเข่าโกง และการปนเปื้อนเชื้อโรคระหว่างการผ่าตัดที่เกิดจากการส่งอุปกรณ์เลื่อยในห้องผ่าตัด เป็นต้น

                  ดร.ทศพร เฟื่องรอด กล่าวต่อว่า นวัตกรรมแท่นจับเลื่อยตัดกระดูกเพื่อความง่ายและแม่นยำ ช่วยในการประคองและลดการสั่นสะเทือน ส่งผลให้การตัดกระดูกมีความเรียบมากยิ่งขึ้นรวมทั้งเพิ่มความแม่นยำในการผ่าตัด และลดปริมาณการสูญเสียของเนื้อกระดูกที่เกิดขึ้นในรอยต่อของกระดูกที่ผ่าไป ตลอดจนลดการปนเปื้อนในการรับส่งเครื่องมือ หรือความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างผ่าตัด จุดเด่นของผลงาน 1.มีระบบ ergonomic arm ในการชดเชยน้ำหนักของเลื่อยขณะผ่าตัด 2.มีระบบ image processing ในการวัดมุมและระยะในการผ่าตัด 3.มีระบบ interlock safety system ในการป้องกันการผิดพลาดในการผ่าตัด 4.มีระบบ temperature control ในการป้องกันความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีของใบเลื่อยและกระดูก และ 5.สามารถใช้ติดกับเลื่อยตัดกระดูกได้ทุกรุ่น

             ขณะนี้ นวัตกรรม “แท่นจับเลื่อยตัดกระดูกเพื่อความง่ายและแม่นยำ” อยู่ในขั้นตอนการพัฒนและต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ได้ทดสอบปฎิบัติการแล้วผลเป็นที่น่าพอใจ ตอนนี้จะพัฒนาเรื่องของมาตราฐานเพื่อที่จะได้จด อย. ให้ผ่าน เพื่อที่จะนำไปขายในปี 2566 ให้ได้

                นวัตกรรม “แท่นจับเลื่อยตัดกระดูกเพื่อความง่ายและแม่นยำ” ได้รับการสนับสนุนจาก วช. ให้เข้าร่วมประกวดในเวทีนานาชาติ “The 48th International Exhibition of Inventions Geneva” ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส เมื่อปี 2563 จนสามารถคว้ารางวัลเหรียญเงินมาครอง

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรม “เส้นใยจากผักตบชวา” สร้างมูลค่าต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์

Next Post

วิศวะฯ มหิดล คิดค้นนวัตกรรม “เมคก้า” เก็บข้อมูลสุขภาพช่วยวินิจฉัยโรค

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

10 months ago
58
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

10 months ago
32
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

10 months ago
127
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

10 months ago
62
Load More
Next Post
วิศวะฯ มหิดล คิดค้นนวัตกรรม “เมคก้า” เก็บข้อมูลสุขภาพช่วยวินิจฉัยโรค

วิศวะฯ มหิดล คิดค้นนวัตกรรม "เมคก้า" เก็บข้อมูลสุขภาพช่วยวินิจฉัยโรค

มหิดล คิดค้นแอปฯ “CSE for Deaf” คัมภีร์สุขภาวะทางเพศ ในโลกไร้เสียง

มหิดล คิดค้นแอปฯ "CSE for Deaf" คัมภีร์สุขภาวะทางเพศ ในโลกไร้เสียง

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    99 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.