mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มหิดล คิดค้นแอปฯ “CSE for Deaf” คัมภีร์สุขภาวะทางเพศ ในโลกไร้เสียง

มหิดล คิดค้นแอปฯ “CSE for Deaf” คัมภีร์สุขภาวะทางเพศ ในโลกไร้เสียง

0

          บาทหลวง “ชาร์ลส์-มิเชล เดอ เลเป” ชาวฝรั่งเศส (พ.ศ.2255 – 2332) ถือเป็น “บิดาของคนหูหนวก” ในฐานะผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนหูหนวกโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเป็นแห่งแรกของโลก

          จะดีแค่ไหนหากเราสามารถใช้เทคโนโลยีย่อโลกที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ (Inclusive World) ไว้เพียงปลายนิ้ว ให้เป็นที่ที่คนหูหนวก และคนทั่วไปสามารถเข้าใจกันได้โดยไม่ต้องใช้ภาษามือ ผ่านแอปพลิเคชันซึ่งสามารถส่งต่อองค์ความรู้ได้อย่างไร้ขีดจำกัด เป็น “โรงเรียนไร้กำแพง” บนโลกไซเบอร์ที่ไม่มีค่าหน่วยกิต

          นับเป็นครั้งแรกของประเทศไทย ที่มหาวิทยาลัยมหิดล โดย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ได้ริเริ่มคิดค้นและพัฒนาแอปพลิเคชันให้หญิงผู้พิการทางการได้ยินตั้งแต่วัย 10 ปีขึ้นไปสามารถเรียนรู้เรื่องสุขภาวะทางเพศและการกระทำความรุนแรงต่อผู้หญิงได้โดยไม่ต้องใช้ภาษามือ

          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ อาจารย์ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คร่ำหวอดด้านการสอนและวิจัยเพศวิถีศึกษามาอย่างยาวนาน ได้ใช้ประสบการณ์จากการเป็นผู้สอนเพศวิถีศึกษามาต่อยอด คิดค้น และพัฒนาแอปพลิเคชัน ภายใต้โครงการ Compulsory Sexuality Education for Deaf หรือ โครงการ “CSE for Deaf” เพื่อใช้แอปพลิเคชันมือถือดังกล่าวสร้างสื่อการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาสำหรับผู้พิการทางการได้ยิน โครงการเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมสุขภาวะทางเพศแก่ผู้พิการทางการได้ยิน เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างสถาบันวิจัยประชากรและสังคม และวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล อันเป็นสถาบันซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาศักยภาพผู้พิการ

          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ ธราวรรณ กล่าวว่า ด้วยข้อจำกัดทางการสื่อสาร มักพบว่าหญิงผู้พิการทางการได้ยินจำนวนไม่น้อยขาดความรู้เกี่ยวกับเพศวิถี สุขภาวะทางเพศ และการปกป้องตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ แอปพลิเคชันการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาที่คิดค้นขึ้นมาและอยู่ในระหว่างการพัฒนานี้ ปัจจุบันได้มีการทดลองใช้ผ่านเครือข่ายผู้พิการทางการได้ยินทั่วประเทศ เมื่อเสร็จสมบูรณ์และได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ที่สุดแล้ว มหาวิทยาลัยมหิดลจะร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนแอปพลิเคชันมือถือ “CSE for Deaf” ให้เป็น “เครื่องมือทางสังคม” ที่ช่วยให้ผู้พิการทางการได้ยินได้สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ด้านสุขภาวะทางเพศที่มีข้อมูลถูกต้อง ทันสมัยครบรอบด้านได้อย่างสะดวก สบายใจ และไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ เพื่อให้ผู้พิการทางการได้ยินเป็นผู้มีสุขภาวะทางเพศที่ดีเป็นพื้นฐานชีวิตที่ดีและมีความสุขต่อไป

          เนื้อหาของแอปพลิเคชันมีครบพร้อมทั้งในเรื่องการคุมกำเนิด เพศสัมพันธ์ปลอดภัย การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การยุติความรุนแรงต่อเพศหญิง และเรื่องเพศวิถี เพื่อให้ผู้พิการทางการได้ยินเข้าใจและยอมรับตัวเอง สามารถอยู่ในสังคมหลากหลายทางเพศได้อย่างภาคภูมิใจ

          “CSE for Deaf” จึงเป็นแอปพลิเคชันประเภท “คัมภีร์แห่งชีวิต” ที่คอยให้ความรู้ ให้คำปรึกษา และให้ความมั่นใจแก่ผู้พิการทางการได้ยิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญิงผู้พิการทางการได้ยิน ให้มีสุขภาวะทางเพศที่ดีได้

          หากเราเข้าใจในสิทธิขั้นพื้นฐาน รู้วิธีปฏิเสธการล่วงละเมิด และยอมรับโลกแห่งความแตกต่างหลากหลาย ก็จะสามารถดำเนินชีวิตต่อไปได้อย่างราบรื่น เพียงรู้เท่าทันและเปิดใจรับความแตกต่าง จะพบว่าโลกยังคงน่าอยู่ และมีวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่าเสมอ

          ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

วิศวะฯ มหิดล คิดค้นนวัตกรรม “เมคก้า” เก็บข้อมูลสุขภาพช่วยวินิจฉัยโรค

Next Post

นวัตกรรมรับมือ “สังคมผู้สูงอายุ” ฝีมือคนไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
นวัตกรรมรับมือ “สังคมผู้สูงอายุ” ฝีมือคนไทย

นวัตกรรมรับมือ “สังคมผู้สูงอายุ” ฝีมือคนไทย

“หุ่นจำลองปฏิสัมพันธ์กายวิภาคหัวสุนัขเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง” นวัตกรรมจากอาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ

“หุ่นจำลองปฏิสัมพันธ์กายวิภาคหัวสุนัขเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง” นวัตกรรมจากอาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.