mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “เซลลูเนท” น้ำยาเคลือบกระดาษนาโน ออร์แกนิค 100% ช่วยรักษาชิ้นงานศิลปะ

นวัตกรรม “เซลลูเนท” น้ำยาเคลือบกระดาษนาโน ออร์แกนิค 100% ช่วยรักษาชิ้นงานศิลปะ

0

             รีนิว (ReNew) สตาร์ทอัพ Deep Tech สายไบโอเทคสัญชาติไทย ผู้คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใหม่ “เซลลูเนท” หรือ “CELLUNATE™” น้ำยาเคลือบกระดาษนาโน หรือ Nano Coating เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติ ทั้งพืชและแหล่งสารชีวภาพ ออร์แกนิค 100% ช่วยปกป้องและรักษา ชิ้นงานศิลปะ ภาพวาด รูปถ่าย หนังสือหายาก รวมทั้งปกป้องและยืดอายุกระดาษหรือเอกสารสำคัญ มีคุณค่าและสำคัญทางประวัติศาสตร์ กางแผนธุรกิจบุกตลาด B2B หอสมุดมหาวิทยาลัย หอหนังสือ หอศิลป์ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งรุกตลาด B2C และถือเป็น 1 ใน 10 เทรนด์เทคโนโลยีดาวรุ่งแห่งทศวรรษหน้า นำร่องด้วย ReNew Artguard Fixative สเปรย์เคลือบงานศิลปะ สกัดจากสารธรรมชาติ ปกป้องงานศิลปะ และ Renew Book Preservation น้ำยายืดอายุหนังสือและเอกสาร ช่วยปกป้องและชะลอการเสื่อมสภาพของกระดาษได้คราวละ 15 – 20 ปี มีทั้งแบบสเปรย์ และแบบชุบ โดยทั้ง 2 ผลิตภัณฑ์นำร่องใช้ CELLUNATE™ นวัตกรรม Nano Coating ตั้งเป้าธุรกิจมุ่งสู่ไบโอโทค และขยายธุรกิจให้เติบโตสู่อุตสาหกรรมอื่นต่อเนื่อง ปักธงบุกตลาดโลกพร้อมตั้งเป้ารายได้ 800 ล้านบาท ใน 5 ปี

             ลัญจกร อมรกิจบำรุง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยี และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท รีนิว อินโนเวชั่นส์ จำกัด หรือ ReNew สตาร์ทอัพ Deep Tech สายไบโอเทค เปิดเผยว่า บริษัทได้พัฒนา เซลลูเนท หรือ CELLUNATE™ นวัตกรรมเทคโนโลยีน้ำยาเคลือบกระดาษนาโน หรือ Nano Coating ใหม่ล่าสุด นับเป็นโซลูชันการเคลือบชีวภาพที่ผลิตจากธรรมชาติและปลอดภัย ทดแทนการใช้น้ำยาเคลือบกระดาษที่ผลิตจากสารเคมี โดย CELLUNATE™ มีคุณสมบัติเป็นน้ำยาเคลือบกระดาษ ด้วยอนุภาคนาโนแคลเซียมคาร์บอเนตที่ช่วยลดความเป็นกรดในกระดาษและเพิ่มคุณสมบัติกันน้ำ ในขณะที่ไบโอโพลิเมอร์ช่วยเพิ่มความแข็งแรงและยืดอายุให้เนื้อกระดาษ เพื่อการใช้งานที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานส่วนบุคคล และกับภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศทั่วโลก

              “จากแนวคิดแรกมีเป้าหมายคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมเพื่อช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของโลก ในเชิงของการอนุรักษ์กระดาษ ผ้า เพื่อไม่ให้เสียหาย เสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากในปัจจุบัน ยังขาดวิธีปกป้องและดูแลรักษาที่มีประสิทธิภาพ จนสามารถต่อยอดพัฒนานวัตกรรมดังกล่าวเพื่อให้ตอบโจทย์การใช้งานหลากหลายรูปแบบเพื่อให้จับตลาดหลายกลุ่มขึ้น ต่อมาเริ่มเห็นโอกาสว่านวัตกรรมของเราสามารถนำไปต่อยอดใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น สารเคลือบบรรจุภัณฑ์กระดาษทดแทนพลาสติกจึงมีเป้าต่อยอดสู่การสร้างธุรกิจ” ลัญจกร กล่าว

                CELLUNATE™ ผลิตจากธรรมชาติ ทั้งจากเส้นใยพืชและแหล่งสารชีวภาพอย่างเปลือกหอย ออร์แกนิค 100%ไปต่อยอดพัฒนาด้วยวิทยสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดเป็น 2 ผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้แก่ 1. ReNew Artguard Fixative สเปรย์เคลือบงานศิลปะ สกัดจากสารธรรมชาติ สามารถช่วยปกป้องงานศิลปะโดยเฉพาะภาพวาด และ 2. Renew Book Preservation น้ำยายืดอายุหนังสือและเอกสาร ช่วยปกป้องและชะลอการเสื่อมสภาพของกระดาษ สำหรับใช้งาน 2 รูปแบบ สเปรย์และน้ำยาสำหรับชุบ เพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน สามารถช่วยยืดอายุหนังสือและกระดาษได้ 15 – 20 ปี ต่อการใช้งาน โดยจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 เป็นผลิตภัณฑ์ที่รักษ์โลก 100% ผลิตจากธรรมชาติ ปราศจากกลิ่นฉุน ปลอดภัยกับผู้ใช้งาน ใช้งานง่ายกว่า แห้งภายใน 5 นาที ช่วยให้ประหยัดเวลากว่าวิธีการที่มีอยู่ในปัจจุบัน

              อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ Renew Book Preservation น้ำยายืดอายุหนังสือและเอกสาร และ  ReNew Artguard Fixative สเปรย์เคลือบงานศิลปะ แล้วในช่วงปีที่ผ่านมา ทั้งในตลาด B2C และตลาด B2B เพื่อขยายตลาดออกไปมากขึ้น โดยวางจำหน่ายทั้งทางช่องทางออนไลน์และออฟไลน์  ปัจจุบัน ReNew จำหน่ายทั้ง 2 ผลิตภัณฑ์ให้กับหน่วยงานราชการที่ดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับการเก็บรักษาศิลปะ หนังสือ หรือเอกสาร เช่น หอสมุดกลาง และหอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒ เป็นต้น โดยวางแผนการตลาดนำผลิตภัณฑ์บุกตลาด B2B อย่างหอสมุดมหาวิทยาลัย หอหนังสือ หอศิลป์ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งรุกตลาด B2C เพื่อเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่รักงานศิลปะ สะสมหนังสือหรือเอกสารเก่าที่ทรงคุณค่า

              ลัญจกร กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัจจุบัน ReNew กำลังอยู่ในกระบวนการทำการวิจัยและพัฒนาไบโอโพลิเมอร์จากขยะชีวภาพ ทดแทนการนำเข้าไบโอโพลิเมอร์จากต่างประเทศซึ่งมีราคาแพง ซึ่งจะทำให้ ReNew สามารถลดต้นทุนในการผลิตลงได้มหาศาล ช่วยให้สามารถเร่งการขยายธุรกิจให้ก้าวกระโดด หรือแบบทวีคูณ (Exponential growth) และมีความพร้อมที่จะขยายธุรกิจให้เติบโตสู่อุตสาหกรรมอื่นที่มีความต้องใช้ Nano Coating รวมทั้งนำไปใช้ทดแทนการเคลือบด้วยพลาสติกในหลายอุตสาหกรรม โดย ReNew ตั้งเป้าสร้างรายได้จากธุรกิจไบโอเทค 800 ล้านบาท ภายใน 5 ปี ทั้งนี้ การปฏิวัติทางชีวภาพ หรือ Bio Revolution เป็น 1 ใน 10 เทรนด์เทคโนโลยีดาวรุ่งแห่งทศวรรษหน้า เนื่องจากวิทยาศาสตร์ชีวภาพ  (Biological science) จะมีอิทธิพลอย่างมากกับเศรษฐกิจและใช้ชีวิตของผู้คน

              อนึ่ง ที่ผ่านมา ReNew ได้รับรางวัลต่าง ๆ จากหลายเวทีของการแข่งขันสตาร์ทอัพ โดยในปี 2564 นี้ เพิ่งได้รับเงินทุนสนับสนุนจำนวน 1,500,000 บาท จากกองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ TED FUND รวมทั้งยังได้รับรางวัล Real Tech Holdings Award จาก Tech Planter Thailand การแข่งขันและบ่มเพาะสตาร์ทอัพ Deep Tech นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัล Bank of America Sustainability และ Lightning Round Winner จาก New Venture Championship ซึ่งสนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

ShareTweetShare
Previous Post

“ใบขลู่” สู่แชมพู-ครีมอาบน้ำ อนุภาคนาโนขลู่ต้านอนุมูลอิสระ

Next Post

สเปรย์ลดฝุ่น PM 2.5 “PhytFoon” จากคณะเภสัชฯ จุฬาฯ คว้าเหรียญทองนวัตกรรมนานาชาติ “IWIS 2021”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

3 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
19
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
สเปรย์ลดฝุ่น PM 2.5 “PhytFoon” จากคณะเภสัชฯ จุฬาฯ  คว้าเหรียญทองนวัตกรรมนานาชาติ “IWIS 2021”

สเปรย์ลดฝุ่น PM 2.5 “PhytFoon” จากคณะเภสัชฯ จุฬาฯ คว้าเหรียญทองนวัตกรรมนานาชาติ “IWIS 2021”

“บุ๋งบุ๋ง” นวัตกรรมเครื่องฟอกอากาศด้วยน้ำ เชื่อมต่อกับเทคโนโลยี IoT

“บุ๋งบุ๋ง" นวัตกรรมเครื่องฟอกอากาศด้วยน้ำ เชื่อมต่อกับเทคโนโลยี IoT

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.