mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ม.มหิดล ค้นพบ “แบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่” ลดเชื้อราก่อโรคในพืช

ม.มหิดล ค้นพบ “แบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่” ลดเชื้อราก่อโรคในพืช

0

              ม.มหิดล ค้นพบแบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่ ลดเชื้อราก่อโรคในพืช พลิกวิกฤติส่งออกเกษตรไทย – ต่อยอดสร้างยาใหม่เพื่อมวลมนุษยชาติ

              การพัฒนาชีวิตบนบกให้สมบูรณ์และยั่งยืน หรือ “Life On Land” ตามเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนแห่งสหประชาชาติ SDGs15 ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของดิน ก่อให้เกิดแหล่งอาหารจากการปลูกพืชงอกงาม และสามารถสนองต่อเป้าหมาย SDGs 2 “Zero Hunger” ที่ว่าด้วยการขจัดความหิวโหยได้อีกด้วย

              ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บังอรศิริ อินตรา ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้คว้ารางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีมาก สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา ประจำปีงบประมาณ 2564 จากผลงานวิจัยซึ่งมี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในเรื่อง “การคัดเลือก การบ่งชี้ และการศึกษาคุณลักษณะของสายพันธุ์และสารทุติยภูมิเชื้อแอคติโนมัยซีท” จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมซึ่งมีรายได้ส่วนใหญ่จากการทำการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีจำเป็นต้องมีการควบคุมโรคพืช ที่ผ่านมาพบปัญหา “เชื้อราก่อโรค” ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อพืชผลของเกษตรกร โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชผลเศรษฐกิจที่ปลูกเพื่อการส่งออกนำรายได้เข้าประเทศ จึงได้นำมาเป็นโจทย์วิจัยสู่การค้นพบ “ชีววิธี” ที่สามารถลดการดื้อยาของเชื้อโรคในพืช ซึ่งทำให้เกษตรกรต้องใช้สารเคมีในปริมาณที่มากขึ้น และการออกฤทธิ์ที่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนก่อให้เกิดผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อทั้งชีวิตมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

              ซึ่ง “แอคติโนมัยซีท” (Actinomycetes) เป็นเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในดิน ซึ่งทีมวิจัยได้นำมาทำการแยกเชื้อ จากที่ได้ศึกษาพบว่าสามารถนำไปสร้างยาปฏิชีวนะ และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จึงได้ต่อยอดทำการวิจัยโดยนำเอาเชื้อดังกล่าวมาคัดแยกจนได้สายพันธุ์ใหม่ขึ้นในประเทศไทย และศึกษาโครงสร้างทางเคมีของสารใหม่ที่ผลิตได้ในสายพันธุ์ดังกล่าว นอกจากนี้ยังได้ศึกษาด้านพันธุศาสตร์ของยีนที่ทำหน้าที่ควบคุมการสร้างสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของเชื้อดังกล่าวอีกด้วย

              งานวิจัยวิทยาศาสตร์พื้นฐานดังกล่าวต่อมาได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติถึง 5 เรื่องภายในระยะเวลา 5 ปี และกำลังพัฒนาสู่ชีวภัณฑ์ที่สามารถต้านเชื้อราในพืช ตลอดจนเพื่อการสร้างยาใหม่ ซึ่งสามารถขยายผลให้ใช้ได้จริงเพื่อประโยชน์แห่งมวลมนุษยชาติต่อไป

              จากผลงานอันโดดเด่นดังกล่าวได้นำมาซึ่งความภาคภูมิใจในฐานะ “ปัญญาของแผ่นดิน” ผู้สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนอกจากจะก่อให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตร และการแพทย์แล้ว ยังเกิดคุณูปการต่อเศรษฐกิจชาติ จากการสามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออกให้กับประเทศไทยได้ต่อไปอีกด้วย

              ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

“บุ๋งบุ๋ง” นวัตกรรมเครื่องฟอกอากาศด้วยน้ำ เชื่อมต่อกับเทคโนโลยี IoT

Next Post

“น้ำหอมจากขนแพะ” นวัตกรรมแปลงขยะขนแพะสู่น้ำหอม เจ้าแรกในไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

3 months ago
23
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
18
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

3 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

3 months ago
8
Load More
Next Post
“น้ำหอมจากขนแพะ” นวัตกรรมแปลงขยะขนแพะสู่น้ำหอม เจ้าแรกในไทย

“น้ำหอมจากขนแพะ” นวัตกรรมแปลงขยะขนแพะสู่น้ำหอม เจ้าแรกในไทย

วช. โชว์ต้นแบบ “เครื่องประดับสุขภาพ” แก้ปัญหาวิกฤตโควิด

วช. โชว์ต้นแบบ "เครื่องประดับสุขภาพ" แก้ปัญหาวิกฤตโควิด

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.