mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
กรรมาธิการการพลังงาน หนุน “ระบบสายไฟฟ้าใต้ดิน” ปรับภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยว สร้างความปลอดภัย

กรรมาธิการการพลังงาน หนุน “ระบบสายไฟฟ้าใต้ดิน” ปรับภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยว สร้างความปลอดภัย

0

             กรรมาธิการการพลังงานลงพื้นที่เชียงคาน สัมมนา ระบบไฟฟ้าลงดิน สร้างความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินประชาชน สร้างความยั่งยืนด้านพลังงานให้ประเทศ พร้อมปรับทัศนียภาพให้แหล่งท่องเที่ยวงามตา พร้อมแนะใช้หม้อแปลงไฟฟ้าจมน้ำนวัตกรรมใหม่ของไทย ป้องกันอุบัติภัยในโรงงาน สร้างภูมิทัศน์ใหม่ให้เมืองไทย

             นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ประธานกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร นายธารา ปิตุเตชะ รองประธานกรรมาธิการ นายชัยยันต์ ผลสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมาธิการ และคณะฯดำเนินการจัดการสัมมนา “ระบบไฟฟ้าใต้ดินกับความปลอดภัยด้านอัคคีภัย และการประหยัดพลังแบบเสถึยรภาพ” โดยมีนายชัยธวัช เนียมศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดเลยเข้าร่วม และให้ข้อมูลในการสัมมนาครั้งนี้

             โดยระบบสายไฟฟ้าใต้ดินเป็นรูปแบบหนึ่งของระบบสายส่งจ่ายกำลังไฟฟ้าไว้ใต้พื้นดิน โดยเดินร้อยท่อฝังดินในโครงสร้างที่ออกแบบมาเพื่อรองรับสายเคเบิล และอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการนำส่งไฟฟ้าโดยเฉพาะ จึงมีความปลอดภัยต่อการใช้งานสูง อีกทั้งยังเพิ่มความสวยงามให้กับทัศนียภาพในชุมชนและสถานที่ท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี ซึ่งระบบสายไฟฟ้าใต้ดินนั้นจะทำให้ระบบไฟฟ้าใต้ดินมีความปลอดภัยต่อสาธารณะและด้านอัคภีภัย รวมทั้งมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และมีเสถียรภาพมากกว่าระบบสายไฟฟ้าอากาศ

             นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้การไฟฟ้านครหลวงปรับเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดิน ฉบับปฏิบัติการเร่งรัด (Quick Vin/ เพื่อรองรับการเป็นมหานครแห่งอาเซียน รวมทั้งได้มีมติคณะรัฐมนตรีให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคดำเนินโครงการพัฒนาระบบไฟฟ้าเมืองใหญ่ ระยะที่ 1 ภายใน 5 ปีโดยเริ่มโครงการนำร่องกับเทศบาลเมืองและเทศบาลคือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี และอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จากนั้นจะทยอยเพิ่มเติมอีก 8 จังหวัด เพื่อปรับปรุงระบบไฟฟ้าให้มีความมั่นคง เชื่อถือได้ความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้น และปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ให้สวยงาม

              โดยจากความสำคัญดังกล่าวคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎรตระหนักถึงความสำคัญของระบบไฟฟ้าใต้ดินในเมืองหลวงและในแหล่งท่องเที่ยว คณะกรรมาธิการจึงได้จัดการสัมมนา “ระบบไฟฟ้าใต้ดินกับความปลอดภัยด้านอัคคีภัยและการประหยัดพลังงานแบบเสถียรภาพ” ขึ้น เพื่อศึกษาข้อมูลและความคิดเห็นในประเด็นต่างๆในการเสนอให้รัฐบาลพิจารณาและปรับปรุงแผนการปรับเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินของประเทศไทยให้สอดคล้องกับวิถีชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวในปัจจุบันต่อไป

 

            ทั้งนี้ที่ผ่านมา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ได้สร้างเคเบิลใต้ดินสำหรับเมืองใหญ่มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 เพื่อการปรับเปลี่ยนระบบไฟฟ้านำสายไฟฟ้าลงใต้ดิน โดยได้ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ ดำเนินการย้ายสายไฟฟ้าลงใต้ดินบริเวณในเมืองใหญ่ ย่านธุรกิจ เมืองเก่า และแหล่งท่องเที่ยวสำคัญ ซึ่งจังหวัดตรังเป็นจังหวัดแรกของประเทศไทยที่ได้ดำเนินการนำสายไฟฟ้าลงดิน เพื่อการปรับภูมิทัศน์ให้มีความสวยงาม เป็นระเบียบ มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เช่นเดียวกับเมืองใหญ่ๆ ไม่ว่าจะเป็นน่าน เชียงใหม่ นครพนม ขอนแก่น หาดใหญ่ ภูเก็ต และพัทยา

             สำหรับอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เป็นอีกแห่งที่ถือว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม ทั้งชาวไทยและต่างชาติ หากนำสายไฟลงดินจะเป็นการส่งเสริมเพิ่มความนิยมมากขึ้น เป็นปรับปรุงภูมิทัศน์ สร้างทัศนียภาพแหล่งท่องเที่ยวใหม่ เพิ่มความงดงาม สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่ให้มากขึ้น ส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชนเติบโตอย่างยั่งยืน

              นายประจักษ์ กิติรัตนวิวัฒน์ เลขานุการประจำคณะกรรมาธิการการพลังงาน กล่าวถึงการพัฒนาด้านเทคโนโลยี การนำระบบไฟฟ้าลงดินในปัจจุบันนี้ว่า ในปัจจุบันการนำระบบสายไฟฟ้าลงดิน มีการพัฒนาไปมาก ที่ผ่านมานำระบบไฟฟ้าลงดินที่การไฟฟ้าดำเนินการอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ยังคงเหลือหม้อแปลงไฟฟ้าที่อยู่คงอยู่เป็นดิน แต่ในปัจจุบันนี้ ผู้ผลิตหม้อแปลงไฟฟ้าได้สร้างนวัตกรรมของคนไทยขึ้นมาใหม่ ทำการผลิตหม้อแปลงไฟฟ้าระบบจำหน่ายชนิดจมน้ำ (Submersible Type Distribution Transformer)เพื่อใช้สำหรับการจำหน่ายไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าใต้ดิน เหมาะกับพื้นที่ที่มีจำกัดในการติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าเช่น พื้นที่ทางเท้าที่แคบ พื้นที่ประสบปัญหาน้ำท่วม หรือพื้นที่ที่ต้องการทัศนียภาพสวยงาม ซึ่งการติดตั้งหม้อแปลงชนิดนี้สามารถทำงานในสภาวะจมน้ำ มีความแข็งแรงทนทาน สามารถจมน้ำลึกถึง 3 เมตรเหนือระดับฝาถังหม้อแปลง และหม้อแปลงดังกล่าวได้ขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทยไว้แล้ว โดยบริษัทเจริญชัยหม้อแปลงไฟฟ้า จำกัด ที่เป็นผู้คิดคัน และผลิต

             หม้อแปลงจมน้ำ ถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมไทยอีกอย่างที่เราควรส่งเสริมและสนับสนุน ต่อยอดเพื่อเพิ่มศักยภาพให้สถานที่ท่องเที่ยว เมืองใหญ่ๆ และหม้อแปลงชนิดจมน้ำนี้ ยังเหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจากการติดตั้งหม้อแปลงจะอยู่ใต้ดินสามารถควบคุมและป้องกันการเกิดอุบัติภัยได้ ทำให้ผู้ประกอบการลดความเสี่ยงไปได้มาก นอกจากภูมิทัศน์จะดูดี หม้อแปลงดังกล่าวยังสร้างความยั่งยืนของพลังงานไทย สร้างความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินของพี่น้องประชาชน และสร้างทัศนียภาพภูมิทัศน์ให้สวยงาม

ShareTweetShare
Previous Post

ม.มหิดล ผลักดัน 3 ผลงานนวัตกรรมคุณภาพตอบโจทย์สังคม ภายใต้ MIND Center

Next Post

เพิ่มมูลค่าเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เสริมจุดเด่น “ถาดพลาสติกชีวภาพ”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

5 days ago
90
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

5 months ago
20
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

5 months ago
7
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

5 months ago
18
Load More
Next Post
เพิ่มมูลค่าเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เสริมจุดเด่น “ถาดพลาสติกชีวภาพ”

เพิ่มมูลค่าเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เสริมจุดเด่น “ถาดพลาสติกชีวภาพ”

“นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพื่อสตรีทฟู้ด” หนุนสตรีทฟู้ดเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

"นวัตกรรมรถเข็นรักษ์โลกเพื่อสตรีทฟู้ด" หนุนสตรีทฟู้ดเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.