mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
กรมท่าอากาศยาน เปิดตัวการใช้ “ระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบิน” เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

กรมท่าอากาศยาน เปิดตัวการใช้ “ระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบิน” เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

0

              กรมท่าอากาศยาน เปิดตัวการใช้ระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบินแบบบูรณาการที่สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพผ่านระบบ Mobile Application และตู้ Kiosk ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ที่สามารถเชื่องโยงข้อมูลผู้โดยสารและแผนที่การเดินทางกับหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การสอบสวนโรค และการตรวจสอบย้อนกลับ มีความแม่นยำ ถูกต้อง และรวดเร็ว ครอบคลุมการใช้งานในท่าอากาศยาน 8 แห่ง ทั่วประเทศ

               โครงการพัฒนาระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบินเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของกรมท่าอากาศยาน เป็นหนึ่งในโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ภายใต้สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19)

                นายประพันธุ์ บรรจบผล ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมท่าอากาศยาน ในฐานะหัวหน้าโครงการฯ ให้ข้อมูลว่า ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเก็บข้อมูลในการเดินทางของผู้โดยสาร ผู้โดยสารขาเข้า ต้องกรอกข้อมูลแบบฟอร์ม ต. 8-คค เพื่อระบุ ข้อมูลการเดินทาง ข้อมูลการเข้าพัก รวมทั้งประวัติการเดินทาง ซึ่งต้องใช้เวลากรอกเอกสารไม่ต่ำกว่า 20 นาทีต่อผู้โดยสาร 1 คน ทำให้เกิดการแออัดและมีผู้โดยสารที่ต้องรอต่อคิวจำนวนมาก ซึ่งจะเป็นอุปสรรคในการบริหารจัดการปริมาณผู้โดยสารตามมาตรการเว้นระยะห่างเพื่อป้องกันโควิด -19

             “กรมท่าอากาศยานจึงพัฒนาแนวคิดในการนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยแก้ปัญหาแบบบูรณาการ ด้วยการพัฒนากระบวนการคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบินประกอบด้วย 3 ระบบ คือ 1) ระบบการจัดการข้อมูลการคัดกรองผู้โดยสารผ่าน Mobile Application 2) ระบบบริหารจัดการข้อมูลการคัดกรองผู้โดยสารและการตรวจวัดอุณหภูมิ และ 3) ระบบการคัดกรองผู้โดยสารผ่านตู้ Kiosk เพื่อช่วยในการอำนวยความสะดวกรวดเร็วในการกรอกข้อมูลผู้โดยสาร ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของท่าอากาศยาน ลดปริมาณผู้โดยสารสะสมในพื้นที่คัดกรองโรคของผู้โดยสาร และช่วยลดความเสี่ยงของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 รวมทั้งกรมท่าอากาศยานยังสามารถแบ่งปันข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการติดตามและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ต่อไปได้

             ผู้โดยสารจะได้รับความสะดวก รวดเร็ว และความปลอดภัยตลอดกระบวนการคัดกรองผู้โดยสาร ตั้งแต่การเดินผ่าน Thermal gate วัดอุณหภูมิอัตโนมัติ การกรอกข้อมูล แบบ ต.8 ผ่าน Mobile Application ทั้งระบบ iOS และ Android หรือสามารถเลือกทำการกรอกข้อมูลได้ที่ตู้ Touch screen Kiosk และบันทึกการส่งข้อมูลด้วย QR Code เข้าสู่ระบบฐานข้อมูลผู้โดยสารของกรมท่าอากาศยาน โดยจากการเริ่มใช้งานระบบนี้ในการจัดการผู้โดยสารที่ท่าอากาศยานขอนแก่น สามารถเคลื่อนย้ายผู้โดยสารจำนวน 170 คน ในเวลาเพียง 10 นาที ซึ่งเป็นการถ่ายโอนผู้โดยสารที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมาก

            ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวต่อไปว่า โดยระบบที่พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการพัฒนาระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบินเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 นี้ ได้ดำเนินการจัดหาและติดตั้งระบบในส่วนของอาคารผู้โดยสารขาเข้าของท่าอากาศยาน 8 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าอากาศยานขอนแก่น ท่าอากาศยานสุราษฎร์ธานี ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานอุบลราชธานี ท่าอากาศยานอุดรธานี ท่าอากาศยานพิษณุโลก และท่าอากาศยานตรัง ซึ่งได้ดำเนินการอย่างเต็มรูปแบบในการรองรับการใช้งานของผู้โดยสารแล้วในปัจจุบัน เพื่อความปลอดภัยสูงสุดและเพิ่มขีดความสามารถในการอำนวยความสะดวกด้านการบริการแก่ผู้โดยสารทุกท่านในยุควิถีใหม่

            “โครงการพัฒนาระบบคัดกรองผู้โดยสารเครื่องบินเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID – 19 ในการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการรับมือกับสถานกาณ์การแพร่ระบาด ถือเป็นแนวทางการแก้ปัญหาที่ตรงจุดและมีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง เพื่อป้องกันและรักษาสุขอนามัยของประชาชนและเจ้าหน้าที่ในการติดเชื้อ เป็นโครงการที่มีประโยชน์รองรับกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID – 19 ในปัจจุบันและอนาคต ให้ประเทศไทยก้าวพ้นวิกฤตโรคระบาดในครั้งนี้ กรมท่าอากาศยาน ขอขอบคุณ กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นอย่างยิ่ง ที่ได้ให้การสนับสนุนการดำเนินโครงการดังกล่าว ซึ่งถือเป็นการให้ความช่วยเหลือหน่วยงานของรัฐ เพื่อประโยชน์ต่อการให้บริการสาธารณะ ส่งเสริมการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงขอเชิญชวนให้หน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือบุคคลทั่วไป ที่มีแนวคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ในการช่วยผลักดันองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยให้ก้าวหน้าและยั่งยืน

ShareTweetShare
Previous Post

SCGP ผนึก จุฬาฯ ร่วมพัฒนานวัตกรรม “หน้ากาก CUre AIR SURE” กรองฝุ่นและเชื้อโรค

Next Post

กรมควบคุมมลพิษ ผนึก สวทช. ใช้ “ซูเปอร์คอมพิวเตอร์” คาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ล่วงหน้า 3 วัน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

4 months ago
24
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

4 months ago
16
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

4 months ago
8
Load More
Next Post
กรมควบคุมมลพิษ ผนึก สวทช. ใช้ “ซูเปอร์คอมพิวเตอร์” คาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ล่วงหน้า 3 วัน

กรมควบคุมมลพิษ ผนึก สวทช. ใช้ “ซูเปอร์คอมพิวเตอร์” คาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM 2.5 ล่วงหน้า 3 วัน

กฟผ. มุ่งผลักดันพลังงานหมุนเวียน พลังงานแสงอาทิตย์ น้ำ แบตเตอรี่ 24 ชั่วโมง

กฟผ. มุ่งผลักดันพลังงานหมุนเวียน พลังงานแสงอาทิตย์ น้ำ แบตเตอรี่ 24 ชั่วโมง

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.