mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“ไทยคม” เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีจานรับสัญญาณดาวเทียมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล

“ไทยคม” เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีจานรับสัญญาณดาวเทียมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล

0

             บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการดาวเทียมไทย เดินหน้าพัฒนาผลิตภัณฑ์จานรับและส่งสัญญาณอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านดาวเทียมทางทะเลขนาดเล็ก ต่อยอดบริการ “Nava” สื่อสารอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล มุ่งขยายตลาดไปยังกลุ่มผู้ใช้งานและผู้ประกอบการเดินเรือขนาดเล็ก เพิ่มศักยภาพและองค์ความรู้แก่ผู้ประกอบการไทยในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการผลิตเองภายในประเทศ ลดการนำเข้า พร้อมต่อยอดนวัตกรรมอุตสาหกรรมดาวเทียมและอวกาศอย่างต่อเนื่อง

             นับตั้งแต่ปี 2561 ไทยคมได้เปิดตัว “Nava” บริการสื่อสารอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเลเป็นครั้งแรก ด้วยความมุ่งมั่นในการใช้ประโยชน์จากดาวเทียมเพื่อให้ทุกคนสามารถเชื่อมต่อและสื่อสารกันได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่เว้นแม้อยู่ในท้องทะเล โดยตลอดระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ไทยคมไม่เคยหยุดนิ่ง ในการคิดค้นและพัฒนาประสิทธิภาพของบริการและผลิตภัณฑ์จานรับและส่งสัญญาณเพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างดีที่สุด และด้วยกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจของไทยคม คือ การมุ่งเน้นพัฒนาบริการใหม่ๆ ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยี เพื่อร่วมกันคิดค้น พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการให้รองรับความต้องการของกลุ่มลูกค้าเดิม และขยายไปยังกลุ่มลูกค้ารายใหม่ และด้วยประสบการณ์ในการร่วมดำเนินธุรกิจกับพันธมิตรและคู่ค้ามากมาย ทำให้ไทยคมค้นพบว่า ในประเทศไทยมีผู้ประกอบการที่มีองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี รวมถึงความสามารถในการพัฒนา ต่อยอด และออกแบบจานรับและส่งสัญญาณฯ ที่มีคุณสมบัติที่ตอบโจทย์การใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเป็นการช่วยส่งเสริมและพัฒนาการผลิตในประเทศ ลดการนำเข้าอุปกรณ์และผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศซึ่งมีราคาสูงได้เป็นอย่างดี

              ไทยคมจึงได้จัดทำโครงการนำร่องในการศึกษาวิจัยร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนาจานรับและส่งสัญญาณขนาดเล็ก 45 เซนติเมตร ด้วยเป้าหมายหลัก คือ เพิ่มขีดความสามารถและขยายการให้บริการสื่อสารผ่านดาวเทียมทางทะเล ไปยังกลุ่มผู้ใช้งานและผู้ประกอบการเดินเรือขนาดเล็ก ที่มีงบประมาณจำกัด เช่น เจ้าของเรือประมงขนาดเล็ก หรือผู้ประกอบการเดินเรือใกล้ชายฝั่ง โดยจานรับและส่งสัญญาณฯ ที่ไทยคมได้พัฒนาขึ้นนี้ จะเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่ใช้องค์ความรู้ภายในประเทศตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ ทั้งในด้านการผลิต ด้านเทคโนโลยี รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งสามารถกล่าวได้ว่า เป็นการมุ่งพัฒนาและส่งเสริมการผลิตในประเทศอย่างแท้จริง โดยไทยคมได้วางแผนทดสอบการใช้งานจริงบนเรือภายในไตรมาส 4 ของปี 2564 จากนั้นจะเก็บข้อมูลเพื่อมาพัฒนา ก่อนนำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดต่อไป

                 ในอนาคต ไทยคมยังมีแผนในการพัฒนาจานรับและส่งสัญญาณดาวเทียมขนาดใหญ่ เพื่อขยายตลาดสู่เรือขนาดใหญ่ รวมถึงการพัฒนาให้จานรับสัญญาณดาวเทียม สามารถรับและส่งสัญญาณจากดาวเทียมในวงโคจรระดับต่ำ (Low Earth Orbit Satellite) ซึ่งตรงกับกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจของไทยคม ที่จะเน้นการพัฒนาบริการเทคโนโลยีผ่านระบบดาวเทียมวงโคจรต่ำ เพื่อสามารถรองรับพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภคในยุคดิจิทัลได้อย่างลงตัว

ShareTweetShare
Previous Post

“ซินโครตรอน” วิจัยสมุนไพรไทย พบ 8 ชนิด มีฤทธิ์ต้านโควิด-19

Next Post

NOSTRA ส่งโซลูชั่น Online Map Service เสริมแกร่งธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน Thailand Tech Show 2022
Technology

สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน Thailand Tech Show 2022

8 months ago
14
สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1”  จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก
Technology

สุดยอดนวัตกรรมจรวดความเร็วเสียง “CURSR-1” จากทีมนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ คว้าอันดับสองรางวัลประกวดจรวดโลก

9 months ago
6
ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ
Technology

ม.มหิดล พัฒนาเครื่องมือตรวจสอบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักพัฒนาตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์และความปลอดภัยจากการนำโค้ดมาใช้ซ้ำ

10 months ago
16
มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI
Technology

มหิดล คิดค้นโมเดลทางคณิตศาสตร์ ช่วยประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ด้วย AI

11 months ago
42
Load More
Next Post
NOSTRA ส่งโซลูชั่น Online Map Service เสริมแกร่งธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์

NOSTRA ส่งโซลูชั่น Online Map Service เสริมแกร่งธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์

บลูบิค ยก “Data Governance” รากฐานสำคัญขับเคลื่อนองค์กรสู่ Data-Driven Organization ปลดล็อกศักยภาพเติบโตด้วยข้อมูล

บลูบิค ยก “Data Governance” รากฐานสำคัญขับเคลื่อนองค์กรสู่ Data-Driven Organization ปลดล็อกศักยภาพเติบโตด้วยข้อมูล

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.