mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“Smart-BIOact” แพลตฟอร์มค้นหาสารจุลชีพสำคัญ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

“Smart-BIOact” แพลตฟอร์มค้นหาสารจุลชีพสำคัญ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพ

0

             ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ (Bio-based product) เป็นหนึ่งในประเภทของสินค้าที่กำลังมาแรงทั่วโลก เพราะผลิตภัณฑ์เหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีการพัฒนาโดยให้ความสำคัญเรื่องสุขภาพของผู้บริโภค รวมถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงได้ใจสายกรีนไปเต็มๆ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์พบเห็นได้ทั่วไป เช่น อาหารทางเลือกเพื่อสุขภาพ ยา อาหารสัตว์ และชีวภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช

               แต่การจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ขึ้นมาสักชิ้น ก็ถือเป็นโจทย์หินท้าทายการทำงานของผู้ประกอบการไม่น้อย เพราะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพโดยส่วนใหญ่จะต้องมีการทำวิจัยเพื่อค้นหาสารจุลชีพสำคัญมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้โดดเด่นและแตกต่างจากคู่แข่ง ซึ่งการทำวิจัยจะมีความซับซ้อนสูง ใช้เวลาในการค้นคว้าและทดลองนาน ก่อให้เกิดความล่าช้า และอาจนำมาซึ่งการสูญเสียพื้นที่ทางการตลาด กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เสนอทางเลือกใหม่ในการทำวิจัยให้แก่ผู้ประกอบการ เป็นแพลตฟอร์ม “Smart-BIOact” ที่สามารถตอบโจทย์ทุกคำถามสำคัญของการทำวิจัยในแพลตฟอร์มเดียว

            ดร.จิตติศักดิ์ เสนาจักร์ นักวิจัยทีมวิจัยชีวศาสตร์และชีววิทยาระบบ (ISST) ไบโอเทค สวทช. อธิบายว่า Smart-BIOact สามารถช่วยผู้ประกอบการในการคัดเลือกสารจุลชีพที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ค้นหาสภาพแวดล้อมที่ดีที่สุดในการเพาะเลี้ยงจุลชีพ รวมถึงสามารถประเมินปริมาณผลผลิตสารเป้าหมายที่จะได้ (Production yield) ภายในแพลตฟอร์มเดียว เพื่อให้ผู้ประกอบการได้มีชุดข้อมูลสำคัญในการวิเคราะห์ทางการตลาดก่อนนำไปลงทุนจริง ช่วยลดระยะเวลาในการทำวิจัย และความเสี่ยงในการลงทุน

           “Smart-BIOact เป็นแพลตฟอร์มที่ทำงานได้รวดเร็วและแม่นยำ มีการนำเทคโนโลยีหลายด้านมาบูรณาการเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลจีโนมของจุลินทรีย์ อาทิ AI, Metabolic modeling และ Bioinformatics ฯลฯ ที่สำคัญปัจจุบัน Smart-BIOact เป็นเพียงแพลตฟอร์มเดียวที่สามารถทำงานทั้งหมดนี้ได้แบบ One-stop-service และมีผู้เชี่ยวชาญให้คำแนะนำและคำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการตลอดการทำวิจัย”

             ดร.จิตติศักดิ์ ยกตัวอย่างกลุ่มอุตสาหกรรมที่ Smart-BIOact สามารถเข้าไปช่วยสนับสนุนการเติบโตได้ คือ อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ ที่ทั่วโลกมีมูลค่าการตลาดสูงถึง 5.5 ล้านล้านบาท (1.8 แสนล้าน USD) ในไทยมีมูลค่าสูงถึง 6.8 หมื่นล้านบาท มีอัตราการเติบโตสูงถึงประมาณร้อยละ 5 ต่อปี นอกจากนี้ยังสามารถช่วยยกระดับผลิตภัณฑ์ชีวภาพในอุตสาหกรรมอื่น เช่น อุตสาหกรรมยา และอุตสาหกรรมวัสดุ ที่กำลังมีความต้องการของตลาดสูงขึ้นตามนโยบาย BCG (Bio-Circular-Green) Economy Model ของประเทศอีกด้วย

             ดร.จิตติศักดิ์ ทิ้งท้ายว่า ในตอนนี้ Smart-BIOact พร้อมแล้วที่จะให้บริการแก่ผู้ประกอบการที่ต้องการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพใหม่หรือพัฒนากระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม ทั้งในรูปแบบการรับจ้างวิจัย (Contract research) และการให้คำปรึกษา โดยในอนาคตทีมวิจัยยังมีแผนที่จะเปิดให้บริการใช้แพลตฟอร์มในรูปแบบ Subscription และ Licensing อีกด้วย หากคุณกำลังมองหาแพลตฟอร์มที่จะช่วยในการค้นหาสารสำคัญ ลดเวลาทำวิจัย เพื่อประโยชน์สูงสุดในการลงทุน ‘Smart-BIOact’ คือคำตอบ

ที่มา : nstda

ShareTweetShare
Previous Post

วช. ร่วมกับ มน. พัฒนา “นวัตกรรมยืดอายุทุเรียนสดแบบแกะพู” หวังส่งออกนอก

Next Post

นวัตกรรมเปลี่ยนขยะเป็นชุด PPE ฝีมือคนไทย

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
นวัตกรรมเปลี่ยนขยะเป็นชุด PPE  ฝีมือคนไทย

นวัตกรรมเปลี่ยนขยะเป็นชุด PPE ฝีมือคนไทย

มหิดล เชื่อมั่นพร้อมเป็นผู้นำหุ่นยนต์ทางการแพทย์ระดับโลก

มหิดล เชื่อมั่นพร้อมเป็นผู้นำหุ่นยนต์ทางการแพทย์ระดับโลก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.