mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด” ช่วยเหลือผู้ประกอบการผลิตผลไม้แปรรูป

“เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด” ช่วยเหลือผู้ประกอบการผลิตผลไม้แปรรูป

0

            สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ประสบผลสำเร็จพัฒนานวัตกรรมทำเงิน “เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด” ช่วยเหลือผู้ประกอบการผลิตผลไม้แปรรูป ระบุมีประสิทธิภาพกำลังการผลิตสูง 50 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ประหยัดพลังงาน ได้ผลิตภัณฑ์คุณภาพ

            ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. กล่าวว่า ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารสุขภาพ วว. ประสบผลสำเร็จในการออกแบบพัฒนา “เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด” เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการผลิตผลไม้แปรรูป เช่น กล้วยฉาบ ทุเรียนทอด มันทอด เผือกทอด เป็นต้น โดยใช้หลักการออกแบบง่ายๆ ที่ไม่ซับซ้อน ประหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง และได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี สมํ่าเสมอ ถูกหลักสุขอนามัย

ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต

            “เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด” มีขนาด (กว้างxยาว) 2 x 2 ตร.ม. มี 3 ส่วนประกอบหลัก คือ 1.ชุดใบมีดหั่นผลไม้ มีลักษณะเป็นจานหมุนเหวี่ยงแบบใบมีดคู่ สำหรับหั่นผลไม้ออกเป็นแผ่นบางๆ สามารถปรับระดับความหนา – บาง ได้ ตั้งแต่ 1-5 มิลลิเมตร 2. ช่องป้อนวัตถุดิบ ออกแบบให้สามารถหั่นผลไม้ได้ 3 แบบ คือ หั่นตามแนวยาว หั่นตามแนวขวาง และหั่นตามแนวเฉียง โดยสามารถถอดเปลี่ยนช่องป้อนวัตถุดิบได้ง่าย และ 3. กระทะทอด ให้ความร้อนด้วยระบบแก๊ส LPG ออกแบบให้สามารถหั่นผลไม้และไหลลงกระทะทอดได้ในขั้นตอนเดียว “

             หลักการทำงาน เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด มีอัตราการทำงานสูงสุด 50 กิโลกรัมต่อชั่วโมง วว. ออกแบบให้สามารถใช้งานง่ายและสะดวก โดยการป้อนผลไม้ที่ต้องการหั่น เช่น กล้วย มัน เผือก ลงในช่องป้อนวัตถุดิบ จากนั้นเครื่องก็จะทำการหั่นโดยอัตโนมัติ โดยผลไม้ที่หั่นได้จะไหลลงในกระทะทอดทันที เพื่อความสะดวกของผู้ใช้ ช่วยลดระยะเวลาในการผลิต และช่วยประหยัดพลังงาน นอกจากนี้สามารถนำเครื่องฯ ไปประยุกต์ใช้กับสมุนไพร เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ได้

             ในสถานการณ์ที่ผลผลิตการเกษตรล้นตลาด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มีบทบาทสำคัญที่จะเข้าไปช่วยตอบโจทย์และแก้ปัญหา สร้างวิกฤตให้เป็นโอกาสแก่พี่น้องประชาชน พี่น้องเกษตรกร ผู้ประกอบการ เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์ประหยัดพลังงาน เป็นผลงานนวัตกรรมทำเงินที่เป็นรูปธรรมในการทำงานของ วว. จากอีกหลากหลายผลงานที่ วว. ได้พัฒนาขึ้น นอกจากจะสามารถช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตเกษตรแล้ว ยังช่วยให้ผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ผู้บริโภคในยุคนิวนอร์มอลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ด้วยประสิทธิภาพของการทำงานที่นักวิจัยได้ออกแบบ ตัวเครื่องยังช่วยประหยัดพลังงาน ช่วยลดต้นทุนในกระบวนการผลิต ผู้บริโภคได้รับสินค้าที่มีคุณภาพ สะอาด ถูกสุขอนามัย

              “วว. พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเครื่องนี้สู่เชิงพานิชย์ เพื่อให้มีการนำไปใช้หลากหลายขึ้น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิดในปัจจุบัน เราจะมาร่วมพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสด้วยนวัตกรรมทำเงินที่ วว.มีความเชื่อมั่นและพร้อมส่งต่อความสำเร็จนี้แก่สังคมไทยต่อไป” ศ. (วิจัย) ดร.ชุติมา  ผู้ว่าการ วว. กล่าวสรุป

               สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด ติดต่อได้ที่ ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ วว. โทร. 0 2577 9000 Call center โทร. 0 2577 9300 โทรสาร 0 2577 9009 อีเมล tistr@tistr.or.th

ShareTweetShare
Previous Post

วช. หนุนทุนม.ศิลปากร วิจัยยกระดับสมุนไพรไทยอบแห้งด้วย “พาราโบลาโดม”

Next Post

นักวิจัยไทยพัฒนา “ระบบน้ำไหลเวียนอัตโนมัติ”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

3 months ago
31
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

3 months ago
18
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

3 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

3 months ago
33
Load More
Next Post
นักวิจัยไทยพัฒนา “ระบบน้ำไหลเวียนอัตโนมัติ”

นักวิจัยไทยพัฒนา "ระบบน้ำไหลเวียนอัตโนมัติ"

เด็กไทยคิดค้นนวัตกรรม “รีไซเคิลถุงพลาสติกสู่ถุงเพาะกล้าไม้”

เด็กไทยคิดค้นนวัตกรรม “รีไซเคิลถุงพลาสติกสู่ถุงเพาะกล้าไม้”

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.