mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สวทช. พัฒนาเครื่องล้างไตผ่านช่องท้องอัตโนมัติ

สวทช. พัฒนาเครื่องล้างไตผ่านช่องท้องอัตโนมัติ

0

           สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดงานการประชุมวิชาการประจำปี หรือ NAC 2021 ในรูปแบบออนไลน์ ภายใต้แนวคิด “30 ปี สวทช. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ BCG เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ผ่านทางเว็บไซต์ www.nstda.or.th/nac ที่มีการสัมมนาในหัวข้อ “รู้ไว้ไตแข็งแรง ป้องกันและรับมือโรคไตเรื้อรังอย่างถูกวิธี”

           ดร.เดโช สุรางค์ศรีรัฐ นักวิจัยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย์ หรือ A-MED สวทช. เปิดเผยในการสัมมนาว่า ทีมวิจัยเล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้ป่วยโรคไต โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่จำเป็นต้องมีการล้างไตหรือการฟอกเลือด ซึ่งมีข้อจำกัดคือต้องเดินทางไปยังสถานพยาบาลและใช้ระยะเวลาในการล้างไตเป็นเวลานาน จึงเริ่มโครงการพัฒนาเครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติ (Automated Peritoneal Dialysis Machine)  มีจุดประสงค์เพื่อทำให้เครื่องล้างไตมีความสะดวกในการใช้งานมากขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการล้างไตทางช่องท้องด้วยเครื่องอัตโนมัติ เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้งานได้มากขึ้น
          “การล้างไตทางช่องท้องเดิมผู้ป่วยต้องล้างไตวันละ 3-4 ครั้ง ซึ่งอาจไม่ได้รับความสะดวก เครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติที่ทีมวิจัย สวทช. พัฒนามีระบบควบคุมการแลกเปลี่ยนน้ำยาล้างไตแบบอัตโนมัติ สามารถทำงานอัตโนมัติในตอนกลางคืนในช่วงระหว่างนอนได้ โดยผู้ป่วยต่อสายเพียงครั้งเดียวก่อนนอน ทำให้ล้างไตได้สะดวกยิ่งขึ้นและสามารถใช้เวลาช่วงกลางวันในการเรียนหรือทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้”

            ดร.เดโช ระบุว่า ปัจจุบันทีมวิจัยพัฒนาเครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติเป็นรุ่นที่ 3 เพื่อขึ้นทะเบียนเครื่องมือแพทย์จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. โดยเป็นการพัฒนาต่อยอดจากเครื่องรุ่นที่ 2 ที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานทางไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับเครื่องล้างไตทางช่องท้องจากศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) และผ่านการทดลองในคนระดับนำร่องซึ่งร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเครื่องรุ่นที่ 3 นี้ได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมให้มีระบบนำส่งและระบายน้ำยาที่มีประสิทธิภาพและมีระบบควบคุมอุณหภูมิน้ำยาล้างไต รวมถึงเพิ่มการเชื่อมต่อกับแอปพลิเคชันโทรศัพท์มือถือและระบบออนไลน์สามารถรายงานผลไปยังแพทย์ได้ทันที โดยทีมวิจัยพร้อมร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อพัฒนารูปแบบการทำธุรกิจที่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงเครื่องล้างไตแบบอัตโนมัติได้มากที่สุด

             ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.5 ของประชากร และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โดยค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (ESRD) อย่างน้อย 200,000 บาทต่อคนต่อปี ที่ผ่านมาสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. ได้ดำเนินนโยบายล้างไตผ่านช่องท้องเป็นทางเลือกแรก (PD First) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ปัจจุบัน สปสช.อยู่ระหว่างดำเนินโครงการนำร่องทดสอบการใช้เครื่องล้างไตทางช่องท้องอัตโนมัติ (APD) มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยที่ต้องล้างไตมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและลดค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกับการล้างไตทางช่องท้องแบบเดิม คาดว่าในอนาคตจะมีความต้องการใช้เครื่องล้างไตทางช่องท้องแบบอัตโนมัติมากขึ้น

Share1Tweet1Share
Previous Post

ม.อ. พัฒนาระบบคัดกรอง COVID-19 อัจฉริยะ ด้านทันตกรรมสำเร็จ

Next Post

เมื่อนักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลองปลูกโหระพาในอวกาศเทียบกับบนพื้นโลก

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
เมื่อนักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลองปลูกโหระพาในอวกาศเทียบกับบนพื้นโลก

เมื่อนักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลองปลูกโหระพาในอวกาศเทียบกับบนพื้นโลก

ม.มหิดล วิจัยและพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ “เพอรอฟสไคต์” สำหรับใช้ในอาคาร

ม.มหิดล วิจัยและพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ “เพอรอฟสไคต์” สำหรับใช้ในอาคาร

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.