mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
แอปพลิเคชัน “กินยาแล้ว” นวัตกรรมจัดยาด้วยระบบ AI

แอปพลิเคชัน “กินยาแล้ว” นวัตกรรมจัดยาด้วยระบบ AI

0

          ปัจจุบันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แม้แต่ปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของประชาชน

          ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นริศ หนูหอม รองหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ร่วมวิจัยในคลัสเตอร์ดิจิทัล ของเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research University Network Thailand หรือ RUN) กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดลได้มีความพยายามอย่างยิ่งที่จะเร่งพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรมต่างๆ โดยอาศัยความร่วมมือจากหลากหลายหน่วยงานทั้งภายใน และภายนอก เพื่อแก้ไขปัญหา และบรรเทาวิกฤติต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 โดยได้ร่วมสร้างนวัตกรรมระบบข้อมูลยา จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาแอปพลิเคชัน “กินยาแล้ว” เพื่อตรวจสอบชนิดยา และแจ้งเตือนการกินยา ซึ่งจัดทำเสร็จสิ้น และอยู่ในระหว่างการทดลองใช้ และโครงการพัฒนาระบบอัตโนมัติ AI สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของการจัดยา เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาล และลดการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่จัดยา ซึ่งเป็นโครงการที่กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการพัฒนา

          จุดเด่นของแอปพลิเคชัน “กินยาแล้ว” คือการสามารถอ่านข้อมูลจาก QR Code เพื่อดึงข้อมูลรายการยาเข้าสู่ระบบการแจ้งเตือนเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยลืมกินยา อีกทั้งช่วยให้ผู้ดูแลสามารถทราบเวลาที่จะต้องจัดเตรียมยาให้ผู้ป่วย หรือย้ำเตือนผู้ป่วยไม่ให้ลืมกินยา สำหรับอีกโครงการเป็นการพัฒนาต่อยอดจากโครงการแรก โดยเชื่อมโยงระบบยาจากโรงพยาบาลสู่ผู้ป่วยผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ ซึ่งผู้ป่วยสามารถนำ QR Code ที่สร้างจาก Platform ไปรับยาจากร้านขายยาใกล้บ้านได้โดยไม่ต้องรอคิวรับยาที่โรงพยาบาล ซึ่งมีกลไกตรวจสอบความถูกต้องของการจัดยาด้วยระบบอัตโนมัติ AI โดยทีมผู้วิจัยจะดำเนินการยื่นจดสิทธิบัตรทางนวัตกรรมต่อไป

          ผู้ป่วยมีความคาดหวังต่อการบริการดูแลรักษาสุขภาพที่มีความสะดวกสบาย และการเข้าถึงบริการที่ง่ายและรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวิกฤติ COVID-19 ที่โรงพยาบาลมีความแออัด ซึ่งระบบ AI จะเข้ามาช่วยลดความคลาดเคลื่อนในการจัดยา ตลอดจนช่วยแบ่งเบาภาระของบุคลากรทางการแพทย์เพื่อให้มีเวลามากขึ้นสำหรับการวางแผนเตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับสถานการณ์ COVID-19 ที่เกิดขึ้นได้ต่อไป

          “คนที่อยู่รอดไม่ใช่คนที่ฉลาดที่สุด แต่เป็นคนที่ปรับตัวได้ดีที่สุด อนาคตจะเป็นอย่างไรอยู่ที่เราปรับตัว วิกฤติ COVID-19 ที่ผ่านมา ทำให้เราได้เรียนรู้ และปรับเปลี่ยนสิ่งต่างๆ รอบตัว ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้น หากพวกเราคนไทยพร้อมร่วมแรงร่วมใจสร้างความแข็งแกร่งให้กับประเทศไทย สุดท้ายเชื่อว่าเราก็จะสามารถผ่านวิกฤติต่างๆ ไปได้ในที่สุด” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นริศ หนูหอม กล่าวทิ้งท้าย

Share1Tweet1Share
Previous Post

“COXY-AMP” ชุดตรวจโรคโควิด-19 ด้วยเทคนิคแลมป์เปลี่ยนสีในขั้นตอนเดียว

Next Post

นักวิจัย “สวทช.” สังเคราะห์สารตั้งต้นยา “ฟาวิพิราเวียร์” ต้านโควิดสำเร็จ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
นักวิจัย “สวทช.” สังเคราะห์สารตั้งต้นยา “ฟาวิพิราเวียร์” ต้านโควิดสำเร็จ

นักวิจัย “สวทช.” สังเคราะห์สารตั้งต้นยา “ฟาวิพิราเวียร์” ต้านโควิดสำเร็จ

นวัตกรรมกรองน้ำดื่มด้วย ‘UF’ เพื่อบริหารจัดการน้ำอุปโภคบริโภค

นวัตกรรมกรองน้ำดื่มด้วย 'UF' เพื่อบริหารจัดการน้ำอุปโภคบริโภค

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.