mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“Para Plearn” นวัตกรรมของเล่นจากยางพารา

“Para Plearn” นวัตกรรมของเล่นจากยางพารา

0
     

          ภายในงานแถลงข่าวสรุปผลงาน สวทช. ประจำปี 2563 ภายใต้งาน NSTDA Beyond Limits: 3 Decades of Impacts (3 ทศวรรษ แห่งความต่อเนื่อง ความสำคัญและผลกระทบ) เอ็มเทค สวทช. เปิดตัวผลงานวิจัย Para Plearn เป็นนวัตกรรมของเล่นปลอดภัยที่ใช้ยางพาราเป็นวัสดุหลักในการผลิต โดยมีแนวคิดมาจากความต้องการนำยางพาราซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศมาเพิ่มมูลค่าด้วยการแปรรูปสู่ผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่และมีความหลากหลายมากขึ้น

ดร.สุรพิชญ ลอยกุลนันท์ ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมการแปรรูปยาง เอ็มเทค สวทช.

          ดร.สุรพิชญ ลอยกุลนันท์ ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมการแปรรูปยาง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า “Para Plearn ประกอบด้วยของเล่นเด็กจากยางพาราทั้งหมด 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ Para Note คือการนำยางพารามาทำให้แข็ง แล้วนำมาอัดเป็นแท่ง สามารถใช้เขียนกระดานหรือพื้นผิวที่มีความขรุขระได้คล้ายกับชอล์ก แต่เขียนได้ไม่เลอะมือ ไม่ก่อให้เกิดฝุ่นฟุ้งกระจาย และไม่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจเหมือนชอล์ก อีกทั้งยังแตกหักได้ยากกว่าชอล์กที่วางจำหน่ายทั่วไป ที่สำคัญคือสามารถลบได้สะอาดด้วยยางพาราที่มีความอ่อนตัวน้อยกว่า และขึ้นรูปเป็นลักษณะต่างๆ ได้ตามรูปแบบแม่พิมพ์

Para Note

          ผลิตภัณฑ์ที่ 2 คือ Para Dough เกิดจากการทดลองนำแผ่นยางพารามาทำให้อ่อนตัวมากที่สุด จากนั้นทดลองผสมกับน้ำมันปาล์มและแป้ง ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ จนเกิดเป็น Para Dough หรือยางสำหรับปั้น มีลักษณะคล้ายกับดินน้ำมัน แต่ไม่มีกลิ่นและปลอดภัยกว่าดินน้ำมันทั่วไป เพราะปราศจากสารที่เป็นอันตราย อีกทั้งยังสามารถคงสภาพอยู่ได้โดยไม่แห้งแข็ง ทนความร้อน-เย็นได้ ไม่ขึ้นรา และไม่มีกลิ่นแม้จะทิ้งเอาไว้เป็นเวลานาน นอกจากนี้ยังสามารถเติมสีและกลิ่นต่างๆ ได้ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ดูน่าสนใจมากขึ้น

Para Dough

          ผลิตภัณฑ์ชิ้นสุดท้ายคือ Para Sand ผลิตภัณฑ์ยางพาราที่มีลักษณะเป็นผงเหมือนทรายแต่มีความหนืดไม่แตกตัว ลักษณะคล้ายสไลม์แบบผง มีรูปแบบการพัฒนาเช่นเดียวกับ Para Dough แต่มีการผสมวัตถุดิบในอัตราส่วนที่แตกต่างกัน สามารถนำผงยางพารามาปั้นหรืออัดขึ้นรูปเป็นรูปทรงต่างๆ และเปลี่ยนรูปให้กลับมาเป็นผงเช่นเดิมได้ โดยนำกลับมาปั้นขึ้นรูปใหม่ได้มากกว่า 10 ครั้ง รวมทั้งเติมสีและกลิ่นต่างๆ ได้เช่นเดียวกัน ทั้งหมดนี้คือของเล่นสำหรับเสริมสร้างทักษะและพัฒนาการเรียนรู้ให้กับเด็กที่ไม่เป็นอันตรายเพราะปราศจากสารเคมีเจือปน”

Para Sand

          ท่านที่สนใจรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี Para Plearn สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช. โทรศัพท์ 0-2564-6500 ต่อ 4301 หรือ อีเมล์: netchanp@mtec.or.th

ที่มา : สวทช.

ShareTweetShare
Previous Post

‘โรงเรือนอัจฉริยะ’ นวัตกรรมควบคุมการปลูกพืชผ่านสมาร์ทโฟน

Next Post

AQUA GROW ระบบอัจฉริยะเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

4 months ago
24
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

4 months ago
16
Load More
Next Post
AQUA GROW ระบบอัจฉริยะเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ

AQUA GROW ระบบอัจฉริยะเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเศรษฐกิจ

นวัตกรรมแปลง ‘หน้ากากอนามัยใช้แล้ว’ เป็น ‘พลังงานไฟฟ้า’

นวัตกรรมแปลง ‘หน้ากากอนามัยใช้แล้ว’ เป็น ‘พลังงานไฟฟ้า’

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.