mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
Chilica-Pod: นวัตกรรมวัดความเผ็ดของพริกด้วยสมาร์ทโฟน

Chilica-Pod: นวัตกรรมวัดความเผ็ดของพริกด้วยสมาร์ทโฟน

0

          คุณเคยสงสัยไหมว่าทำไมพริกแต่ละชนิดถึงมีความเผ็ดที่แตกต่างกัน หรือแม้กระทั่งพริกชนิดเดียวกัน ถ้าปลูกต่างกัน สิ่งแวดล้อมต่างกัน ดินต่างกัน ระดับความเผ็ดก็ไม่เท่ากัน นั่นเป็นเพราะว่าในพริกแต่ละชนิดมีสารให้ความเผ็ดที่มีชื่อว่า สารแคปไซซิน (Capsaicin) ไม่เท่ากันนั่นเอง ซึ่งปัจุบันทีมนักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(ม.อ.) ได้วิจัยและพัฒนา “เครื่องวัดสารให้ความเผ็ดในพริกแบบพกพา” ที่มีชื่อว่า Chilica-Pod ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ที่ใช้ตรวจปริมาณสารแคปไซซิน (Capsaicin) ที่อยู่ในพริกทุกชนิด โดยสามารถวัดความเข้มข้นได้ถึง 0.37 μM ในตัวอย่างที่เจือจาง มีความแม่นยำสูง ราคาถูก ใช้งานง่ายเชื่อมต่อบนสมาร์ทโฟน เพื่อช่วยยกระดับอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยาและเฮลธ์เทค (Healthtech) ของประเทศไทย

รองศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร
รองศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร

          Chilica-Pod เป็นผลงานในของรองศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร นายอัสมี สอและ นางสาวกัสริน สายสหัส นายเกียรติศักดิ์ พรหมสุวรรณ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา และ รองศาสตราจารย์ ดร.ปณต ถาวรังกูร คณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. เป็นเครื่องตรวจวัดปริมาณแคปไซซินที่อยู่ในพริก ซึ่งสารชนิดนี้จะทำเส้นประสาทของเราส่งสัญญาณเดียวกันนี้ไปยังสมอง คุณจึงรู้สึกเหมือนมีอะไรที่ร้อนๆในปาก ซึ่งแน่นอนว่าจะเป็นผลดีต่อคนที่ไม่รับประทานเผ็ด โดยคนที่แพ้แคปไซซิน อย่างรุนแรง อาจมีแผลพุพองในคอ อาเจียน และแม้กระทั่งอาการช็อกถ้ามีอาการแพ้อย่างรุนแรง  แต่ในอีกมุมหนึ่ง แคปไซซินในพริก ยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการรวมถึงฤทธิ์ต้านออกซิเดชั่นต่อต้านสารก่อมะเร็ง แต่ต้องอยู่ปริมาณที่เหมาะสม

          Chilica-Pod ถูกพัฒนาออกมาในรูปแบบอุปกรณ์พกพาที่ใช้กับสมาร์ทโฟน มีลักษณะเหมือนพริกเชื่อมต่อกับสมาร์ทด้วยช่อง USB-C ซึ่งการใช้งาน Chilica-Pod นั้นจะต้องนำพริกแห้งที่ต้องการทราบความเผ็ดมาผสมกับแอลกอฮอล์เพื่อให้สารแคปไซซินในพริกละลายออกมากับแอลกอฮอล์ จากนั้นเสียบแผ่นตรวจจับสารเคมีเข้ากับตัวเครื่อง แล้วนำสารละลายที่ได้ไปหยดบนแผ่นตรวจจับสารเคมี สารแคปไซซินจะทำปฏิกิริยากับแผ่นตรวจจับสารเคมี เกิดเป็นกระแสไฟฟ้า ยิ่งมีแคปไซซินเป็นจำนวนมาก ก็จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ามากขึ้น โดยทางม.อ.ได้พัฒนาแอปพลิเคชั่น Chilica-Pod ขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อรองรับกับผลการวิเคราะห์บนสมาร์ทโฟน ทำให้อ่านค่าความเผ็ดของพริกบนสมาร์ทโฟนได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว

          นวัตกรรมนี้ เหมาะกับอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมยาที่ต้องการวัดปริมาณความเผ็ดของพริกก่อนนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านต่างๆ รวมทั้งยังเป็นอุปกรณ์เฮลธ์เทค (Healthtech)  เหมาะกับกลุ่มที่ต้องการดูแลสุขภาพด้วยนั่นเอง

ที่มา: bangkokbiznews

Share1Tweet1Share
Previous Post

FlexzWheels: นวัตกรรมเพื่อสัตว์เลี้ยงที่สูญเสียขา

Next Post

“Space Walker” นวัตกรรมเครื่องช่วยฝึกเดิน

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
“Space Walker” นวัตกรรมเครื่องช่วยฝึกเดิน

“Space Walker” นวัตกรรมเครื่องช่วยฝึกเดิน

Power Lift Bed นวัตกรรมเตียงนอนอัจฉริยะสำหรับผู้สูงวัย

Power Lift Bed นวัตกรรมเตียงนอนอัจฉริยะสำหรับผู้สูงวัย

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.