mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC | ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย
No Result
View All Result
สวนผลไม้อัจฉริยะ

สวนผลไม้อัจฉริยะ

0

อดีตวิศวกรโรงงาน “ณัฐวุฒิ จันทร์เรือง”  ดีกรีปริญญาตรี วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาโท เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัดสินใจลาออกจากงานประจำกลับบ้านเกิดเพื่อสานต่ออาชีพเกษตรกรรมของครอบครัว เขาได้พัฒนาสวนผลไม้ของครอบครัวที่ชื่อว่า “ฟาร์มจันทร์เรือง” (JR Farm) ในจังหวัดจันทบุรี ให้เป็นสวนผลไม้อัจฉริยะด้วยการนำความรู้และประสบการณ์ทางด้านวิศวกรรม เทคโนโลยีและการจัดการ มาใช้กับงานภาคเกษตร โดยเริ่มจากงานพื้นฐานอย่างระบบเปิด-ปิดน้ำแทนคน

ณัฐวุฒิ จันทร์เรือง

ณัฐวุฒิเล่าว่า “ตอนแรกที่ผมกลับมา พ่อแม่ยังใช้การจัดการแบบเก่าๆ ที่เคยทำมาเมื่อหลายสิบปีก่อน เน้นใช้แรงงานคนเยอะ แต่ปัญหาตอนนี้คือแรงงานหายากขึ้น อย่างเวลาจะเปิด-ปิดน้ำแต่ละที ผมมีอยู่ทั้งหมด 5 สวน จำเป็นต้องใช้คนหลายคนเพื่อที่จะประจำในสวนคอยทำหน้าที่เปิด-ปิดน้ำ ซึ่งมันยุ่งยากมาก ผมเลยเริ่มเอาโปรแกรมเข้ามาช่วยในการเปิด-ปิดน้ำ โดยที่สามารถควบคุมได้จากที่บ้านเลยไม่ต้องมาที่สวน จากนั้นก็เริ่มเขียนโปรแกรมที่ใช้วัดค่าต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ ความชื้น ทิศทางลม ปริมาณน้ำฝน ฯลฯ โดยสั่งอุปกรณ์เข้ามาจากจีน ซึ่งพอทำได้และไม่กระทบกับแรงงานคน  รวมถึงค่าไฟและค่าแรงต่างๆ ก็เริ่มติดตามผล โดยทำการเก็บค่าต่างๆ เพราะว่าจริงๆ แล้วค่าเหล่านี้มีผลต่อการเจริญเติบโต หรือการออกดอกของต้นไม้ทั้งสิ้น  ซึ่งทั้งหมดในกระบวนการเราไม่ได้ใช้คนเลย เพราะต่อให้ใช้คนทำก็ไม่สามารถวัดค่าเหล่านี้ได้

          ค่าที่ได้นำมาเทียบกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับต้นไม้ ทำออกมาเป็นกราฟให้เห็นเป็นรูปธรรม โดยไม่ต้องใช้การคาดการณ์หรือคาดเดาเหมือนการทำเกษตรในยุคที่ผ่านๆ มาอีกต่อไป

          จากตอนแรกเราประหยัดแรงงานคนไป ก็เริ่มประหยัดค่าไฟในการปั๊มน้ำ และลดปริมาณน้ำลงได้อีก ต้นทุนก็เริ่มน้อยลงเรื่อยๆ จากนั้นเราก็เริ่มมาจับอุณหภูมิว่า อุณหภูมิประมาณไหนที่ต้นไม้เริ่มออกดอก มีการวัดความเร็วลมและทิศทางลม เพราะปกติถ้าลมหนาวมาแสดงว่าต้นไม้พร้อมที่จะออกดอกแล้ว เราก็เตรียมการให้น้ำตามเทคนิคของการปลูกทุเรียนที่สามารถเข้าได้ถูกจังหวะขึ้น จากนั้นก็เก็บค่าผลผลิตมาอย่างต่อเนื่อง และทำให้ผลผลิตเราเพิ่มขึ้นประมาณปีละ 3-4 ตัน รวมถึงลดต้นทุนลงได้ และผลผลิตก็คุณภาพดีขึ้นด้วย”

ตอนนี้เขายังคงพัฒนาสวนเพื่อทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปริมาณที่มากขึ้น เพื่อรองรับการส่งออก รวมถึงความต้องการของตลาดที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ยังคงพยาพยามลดต้นทุนให้ได้สูงสุด สิ่งไหนที่ทำได้เองก็จะเลือกทำเองไม่ต้องซื้อหา เช่น การทำปุ๋ย หรือสารกำจัดแมลง นอกจากจะประหยัดแล้วยังเป็นการลดการใช้สารเคมี และทำสวนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งเป็นเป้าหมายของพวกเขาด้วย

ที่มา : SME THAILAND CLUB

Share1Tweet1Share
Previous Post

4 หุ่นยนต์ “ไข่ต้ม- SR1-ปิ่นโต-กระจก” ฝืมือคนไทย

Next Post

ลิปจากผักออร์แกนิค

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย
นวัตกรรมด้านเกษตร

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

10 months ago
40
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

10 months ago
48
แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม
นวัตกรรมด้านเกษตร

แผ่นยางพาราปูคอกสัตว์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของโคนม

10 months ago
38
เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้
นวัตกรรมด้านเกษตร

เพิ่มคุณภาพ “ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม” ด้วยนวัตกรรมฮอร์โมนเพิ่มดอกเพศผู้

10 months ago
16
Load More
Next Post
ลิปจากผักออร์แกนิค

ลิปจากผักออร์แกนิค

รถบรรทุกอเนกประสงค์ขับเคลื่อน 4 ล้อ

รถบรรทุกอเนกประสงค์ขับเคลื่อน 4 ล้อ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    99 shares
    Share 40 Tweet 25
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    81 shares
    Share 32 Tweet 20
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    79 shares
    Share 32 Tweet 20
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    73 shares
    Share 29 Tweet 18
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    72 shares
    Share 29 Tweet 18

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
196

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
80

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
40

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
54

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
48
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.