mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
อินเวอเตอร์สำหรับระบบปั๊มน้ำทางการเกษตรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

อินเวอเตอร์สำหรับระบบปั๊มน้ำทางการเกษตรโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์

0

  Solar Inverter Pump หรือ ปั๊มสูบน้ำพลังแสงอาทิตย์ สามารถปั๊มน้ำจากแหล่งน้ำหลักเข้าสู่บ่อพักน้ำหรือคลองส่งน้ำย่อยในพื้นที่ที่สายไฟฟ้าเข้าถึงได้ยาก รวมถึงแนวโน้มราคาน้ำมันสำหรับขับเคลื่อนปั๊มน้ำสูงขึ้น สวนทางกับกระแสนิยมในการเลือกใช้เทคโนโลยีทางเลือกมากขึ้น อาทิ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น

  แผงโซล่าที่ใช้ร่วมกับอินเวอเตอร์นี้ใช้ จำนวนแผงน้อยกว่าอินเวอรเตอร์ทั่วไปในท้องตลาด ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายของระบบลงและการพัฒนาแผงโซล่ามีแนวโน้มของเทคโนโลยีสูงขึ้นขนาดแผงเล็กลง และหากผลิตในปริมาณสูงต้นทุนก็จะลดลงตามไปด้วย

จุดเด่นสุดยอดนวัตกรรมอินเวอเตอร์ปั๊มน้ำ

  สำหรับอินเวอเตอร์ปั๊มน้ำที่เนคเทคได้พัฒนาขึ้นนี้ ได้เพิ่มระบบ MPPT ที่มีความสามารถจัดการพลังงานแบบหาจุดการถ่ายทอดพลังงานสูงสุดในแต่ละช่วงแสง เพื่อให้ปั๊มน้ำทำงานได้ดีที่สุดที่ความเข้มแสงหนึ่งๆ โดยตัวอินเวอเตอร์เองได้รับการออกแบบให้มีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้งานกลางแจ้งด้วย ไม่ว่าจะเป็นระบบป้องกันความเสียหาย ฟ้าผ่า การป้องกันฝุ่นกันน้ำตามมาตรฐาน IP55 อีกทั้งไม่จำเป็นต้องใช้ร่วมกับแบตเตอรี่ สามารถนำไปขับมอเตอร์แบบ PSC ได้ตั้งแต่ 0.5-3 แรงม้า และมีให้เลือกใช้งานในท้องตลาดได้หลายรูปแบบหลายขนาด ทั้งกำลังดูดหรือส่ง (Head) และอัตราการไหล (Flow)

งานวิจัย สู่การใช้งานจริง

  สำหรับ Solar Inverter Pump โดยคุณสุทัศน์ ปฐมนุพงศ์ ห้องปฏิบัติการวิจัยต้นแบบและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หน่วยพัฒนานวัตกรรมและวิศวกรรม ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ได้พัฒนาขึ้น เป็นต้นแบบอินเวอร์เตอร์สำหรับปั๊มน้ำจากเซลแสงอาทิตย์หลายกำลังขับ ซึ่งนำมาใช้ในโครงการชาวนาอัจฉริยะ 1 ไร่ 1 แสน เป็นการผันน้ำจากคลองส่งน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่คลองไส้ไก่หรือคลองพักน้ำไปยังพื้นที่เกษตรกรรมในโครงการกว่า 100 ไร่ ด้วยปั๊มน้ำพญานาค 3 แรงม้า ใช้พลังงานจากแผงโซล่าร์ 285 วัตต์ จำนวน 10 แผง ทำให้ลดค่าใช้จ่ายจากน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้กับระบบปั๊มน้ำแบบเดิมกว่า 100,000 บาทต่อปี

  โครงการนี้ดำเนินการโดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและหอการค้าไทย เป็นการช่วยในเรื่องลดต้นทุนในการผลิตแก่เกษตรกร ที่ทำเกษตรกรรมในพื้นที่ซึ่งจำเป็นต้องการผันน้ำจากแหล่งน้ำหลักเข้าสู่บ่อ พักน้ำหรือเข้าพื้นที่เพาะปลูกโดยตรง ดังนั้นการนำต้นแบบอินเวอร์เตอร์มาใช้อาจช่วยให้มีการเปลี่ยนมาใช้พลังงาน ทางเลือกในรูปแบบต่างๆมากขึ้น

ที่มา : mmthailand

ShareTweetShare
Previous Post

“Happy Noz” สติ๊กเกอร์หัวหอมติดแปะบรรเทาหวัด

Next Post

“กีรตา” ธูปหอมควันน้อย ไร้สารก่อมะเร็ง

Sirivimon Koncharin

Sirivimon Koncharin

Related Posts

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
36
น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า
นวัตกรรมด้านพลังงาน

น้ำยาเคลือบโซลาร์เซลล์ลดการเกาะของน้ำและฝุ่น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า

4 months ago
27
นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมฝีมือคนไทย “หม้อแปลง Submersible Transformer Low Carbon”

5 months ago
22
Load More
Next Post
ธูปกีรตา

"กีรตา" ธูปหอมควันน้อย ไร้สารก่อมะเร็ง

สติ๊กเกอร์กันยุง

Bug Guard สติ๊กเกอร์กันยุง สำหรับป้องกันยุงไทยโดยเฉพาะ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.