mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
ฉนวนกันความร้อนใต้หลังคา

ฉนวนกันความร้อนใต้หลังคา

0

AERO-ROOF

        นวัตกรรมใหม่ป้องกันความร้อน ใต้หลังคาบ้าน อาคาร ที่พักอาศัย  นวัตกรรม “ฉนวนยางกันความร้อนใต้หลังคา  AERO-ROOF ™ ” เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากยางสังเคราะห์ชนิดพิเศษ Ethylene Propylene Diene Monomer (EPDM) เคลือบด้วยอลูมิเนียมฟอยล์ โดยนำมาใช้ติดตั้งใต้หลังคา ฝ้า หรือผนัง เพื่อป้องกันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผสมสารกันไฟและเป็นวัสดุประเภท Thermosetting ไม่ลามไฟ และไม่หลอมเหลวเมื่อถูกความร้อน หรือเปลวไฟ ซึ่งเป็นวัสดุที่แตกต่าง จากท้องตลาดโดยสิ้นเชิง มีความคงทนต่อรังสีอัลตร้าไวโอเลต ไม่แห้งกรอบ มีอายุการใช้งานยาวนานมากกว่า 10 ปี 

รุ่นมีฟอยล์

 รุ่นฟอยล์เพชร

รุ่นฟอยล์ขาว

รุ่นไม่มีฟอยล์

คุณสมบัติเหนือกว่าฉนวนชนิดอื่นๆ ดังนี้

• มีค่าการดูดซึมน้ำต่ำ แม้หลังคารั่ว น้ำฝนก็ไม่ทำให้ฉนวนเสื่อมสภาพ
• ค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนต่ำและคงที่ตลอดอายุการใช้งาน
• มีความคงทนต่อโอโซน รังสีอุลตร้าไวโอเลตและสภาวะอากาศต่างๆได้เป็นอย่างดี
• มีความยืดหยุ่นสูง สามารถโค้งงอไปตามหลังคาได้ง่าย ทำให้ติดตั้งได้สะดวก รวดเร็ว และติดตั้งได้เอง
• ไม่เป็นฝุ่นผง หรือแตกหัก ไม่ก่อปัญหาการแพ้จนเกิดอาการคัน หรือมีผลต่อสุขภาพ
• ไม่ลามไฟ ไม่หลอมเหลว เมื่อถูกความร้อน หรือเปลวไฟ ได้ตามมาตรฐานสากล
• ช่วยเพิ่มความสว่างในอาคาร

AERO-ROOF ™ ไม่ลามไฟ ไม่เป็นเชื้อเพลิง

1. การติดตั้งฉนวนบนฝ้าฉาบเรียบ / ฝ้าทีบาร์

  1. ปูฉนวน AERO-ROOF ™ เหนือโครงฝ้าเพดานตามแนวโครงคร่าวบน โดยหันด้านฟอยล์ขึ้นด้านบน

2. หากโครงฝ้ามีความกว้างน้อยกว่าความกว้างของฉนวน ให้กรีดที่ฉนวนตามรูป จากนั้นเสียบฉนวนล็อคเข้ากับโครงลวดให้สนิท

3. ปิดทับรอยต่อ ด้านที่เป็นอลูมิเนียมฟอยล์ด้วย Roof-Tape และรอยต่อด้านที่เป็นยางด้วย Aerotape

4. ทำตามขั้นตอนจนเต็มพื้นที่ ตรวจดูความเรียบร้อย

2. การติดตั้งฉนวนเหนือแปด้วยเมทัลสตริป (Metal Strip) ก่อนติดตั้งหลังคา

1. กำหนดระยะการวางแนว Metal Strip ตามระยะหน้ากว้างของม้วนแผ่นฉนวน AERO-ROOF ™ (มาตรฐาน 1.2 ม.) จากนั้นทำการยึด Metal Strip ให้ยึดติดกับด้านบนแป โดยใช้สกรูเกลียวปล่อย

2. วางแผ่นฉนวน AERO-ROOF ™ ตามความยาวของหลังคา โดยให้ฟอยล์อยู่ด้านล่าง ให้ตรงกับแนวของ Metal Strip ยึดให้แน่นด้วยสกรูเกลียวปล่อย

3. ต่อแผ่นฉนวน AERO-ROOF ™ ให้ชนกัน ติดรอยต่อด้วย Roof-Tape เก็บรายละเอียดช่วงปลายแผ่นด้วยการพับขอบปลายฉนวนเข้ามาปลายหลังคาให้เรียบร้อย

4. ติดตั้งและวางแผ่น Metal Sheet ทำการติดตั้งหลังคาตามปกติของวิธีการของผู้ผลิตทั้งระบบ Bolt & Boltless ด้วยวิธีการมาตรฐาน โดยเพิ่มความยาวของสกรูอีกครึ่งของความหนาของฉนวน

3. การติดตั้งฉนวนเหนือแปด้วยตะแกรงลวด (Steel Wire mesh) ก่อนติดตั้งหลังคา

1. นำตะแกรงลวด เชื่อมติดด้านบนของแปให้ตึงและแข็งแรง

2. วางฉนวน AERO-ROOF ™ บนตะแกรงลวด โดยหันด้านฟอยล์ลงด้านล่างแล้วกลิ้งม้วนฉนวนไปตามแนวยาวของหลังคาจนเต็มพื้นที่

3. ต่อแผ่นฉนวน AERO-ROOF ™ ให้ชนกัน ติดทับรอยต่อด้วย Roof-Tape จัดแต่งฉนวนให้เรียบตึงและสวยงาม

4. ติดตั้งและวางแผ่น Metal Sheet ทำการติดตั้งหลังคาตามปกติของวิธีการของผู้ผลิตทั้งระบบ Bolt & Boltless ด้วยวิธีการมาตรฐาน

Contact
บริษัท แอร์โรเฟลกซ์ จำกัด
770 เทพารักษ์ กม.5 6 แขวง/ตำบล เทพารักษ์
เขต/อำเภอ เมืองสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรปราการ 10270
Tel : 023-836599
E-mail : insiriwant@aeroflex.co.th

ที่มา : aero-roof

Share4Tweet3Share
Previous Post

ถุงหายใจได้

Next Post

ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

Darunrat Kaewdang

Darunrat Kaewdang

Related Posts

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

4 months ago
33
นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

4 months ago
20
เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง
นวัตกรรมด้านอุตสาหกรรม

เพิ่มมูลค่าให้กับเปลือกกุ้งด้วย นวัตกรรมบะหมี่กึ่งสําเร็จรูปเสริมไคโตซานจากเปลือกกุ้ง

4 months ago
42
นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมเครื่องปั่นไฟ เสริมแรงพลังงานลมเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

4 months ago
33
Load More
Next Post
ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

ชุดปลูกผักอัตโนมัติไม่ต้องใช้แสงแดด

ชุดปลูกผักอัตโนมัติไม่ต้องใช้แสงแดด

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.