mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรมตรวจจับแกนไม้ยางพารา จ่อต่อยอดพัฒนาเป็นเครื่องมือรักษาโรคตาเข

นวัตกรรมตรวจจับแกนไม้ยางพารา จ่อต่อยอดพัฒนาเป็นเครื่องมือรักษาโรคตาเข

0

         ที่ห้องประชุมช่อประดู่ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้เข้าติดตามนวัตกรรมต้นแบบในโครงการพัฒนาระบบตรวจจับแกนไม้บนภาพหน้าตัดท่อนซุงไม้ยางพารา โดยใช้เทคนิคโครงข่ายประสาทเทียมแบบลึก และเชื่อมต่อกับระบบในโรงงานแปรรูปไม้ยางพารา โดยนักวิจัยจากสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยพัฒนาจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยมี นายภุชพงค์ โนดไธสง เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พร้อมคณะบริหารเข้าร่วมติดตาม

         สำหรับโครงการนี้ นักวิจัยมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้พัฒนาในระบบการประมวลผลเพื่อตรวจจับแกนไม้โดยอัตโนมัติ ให้มีความถูกต้องแม่นยำ จนสามารถนำไปเชื่อมต่อกับระบบอัตโนมัติส่วนอื่นๆ ของการตัดผ่าท่อนซุง เป็นแผ่นไม้แปรรูปที่มีจำนวนแผ่นต่อ 1 ท่อนซุงให้มากที่สุด ขนาดแผ่นไม้ดีและสวยที่สุด โดยมีส่วนที่เสียน้อยที่สุด อันเนื่องมาจากแกนไม้ส่งผลต่อการอบไม้อย่างมีนัยสำคัญ เพื่อควบคุมอัตราการเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ให้ต่ำที่สุด ใช้เชื้อเพลิงน้อยสุด เป็นการเพิ่มมูลค่าของการแปรรูป การวิจัยพัฒนานี้อยู่ในระหว่างการปรับสเกลจากต้นแบบให้เป็นเครื่องจักรที่สามารถใช้ได้จริง และยังสามารถพัฒนานวัตกรรมนี้เป็นระบบตรวจจับโรคทางดวงตา เช่น โรคตาเข การตรวจจับรักษาโรคทางรูม่านตาได้อีกด้วย

          นายภุชพงค์ โนดไธสง เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่า มีการตั้งเป้าพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลและสังคมให้ปี 2570 ให้ได้ไม่น้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ และในปี 2580 ให้ได้ไม่น้อยกว่า 2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ท้าทาย การพัฒนานี้ดำเนินการโดยภาคราชการอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมีภาคการศึกษา และทุกภาคส่วนเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยมีกองทุนที่คอยสนับสนุนการวิจัยนวัตกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อการพัฒนาระบบดิจิทัลของประเทศให้ก้าวหน้า

          ขณะที่ ผศ.กรกต สุวรรณรัตน์ นักวิจัยหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ระบุว่า การวิจัยนวัตกรรมการตรวจจับแกนไม้ยางพารานี้ สืบเนื่องจากเดิมมีการใช้มนุษย์ที่เรียกว่า “นายม้า หางม้า” เป็นผู้คอยควบคุมสังเกตแกนไม้ในการเข้าสู่เครื่องจักรเพื่อตัดผ่า ปัจจุบันเริ่มมีการขาดแคลน จึงได้พัฒนานวัตกรรมตัวนี้ขึ้น เพื่อลดความสูญเสียโดยเปล่าประโยชน์ของไม้ที่ต้องตัดผ่าแล้วติดแกนไม้ หรือไส้ไม้ไปด้วย เมื่อเข้าสู่การอบจะแตก ระบบนี้จะสามารถลดความสูญเสียได้ ขณะนี้อยู่ในระหว่างการประสานงานกับนักวิชาการวิศวกรรมเครื่องกล ในการพัฒนาระบบในโรงงาน และที่สำคัญนั้นได้ใช้แนวคิดนี้ พัฒนาวิจัยระบบเครื่องมือแพทย์ที่ใช้ในทางจักษุวิทยา ในการตรวจจับโรคที่เกี่ยวกับดวงตาด้วย

ShareTweetShare
Previous Post

แผ่นรองซับจากฟางข้าวและเหง้ามันสำปะหลัง นวัตกรรมดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง

Next Post

มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง

2 days ago
7
อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

3 days ago
4
มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด

3 days ago
3
แผ่นรองซับจากฟางข้าวและเหง้ามันสำปะหลัง นวัตกรรมดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

แผ่นรองซับจากฟางข้าวและเหง้ามันสำปะหลัง นวัตกรรมดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง

4 days ago
4
Load More
Next Post
มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด

มข. เปิดตัวนวัตกรรม AI แปลผลอายุร่างกายจากผลเลือด

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

Discussion about this post

Popular Post

  • Thai School Lunch

    Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    52 shares
    Share 21 Tweet 13
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    50 shares
    Share 20 Tweet 13
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    42 shares
    Share 17 Tweet 11
  • Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    39 shares
    Share 16 Tweet 10
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    38 shares
    Share 15 Tweet 10

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

นักบินอวกาศญี่ปุ่นทดลอง 2 ไอเดียเยาวชนไทยบนสถานีอวกาศนานาชาติ

January 27, 2023
4

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

January 27, 2023
7

นวัตกรรมทางเลือกเพื่อสุขภาพ “ซอสซ่อนผัก” กินพอเหมาะช่วยลดเสี่ยงสารก่อมะเร็ง

January 27, 2023
7

“แหนแดง” ตัวช่วยลดต้นทุน ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ยกระดับการผลิตข้าวเหนียวลุ่มน้ำโขง

January 26, 2023
3

อว. มอบนวัตกรรมฝีมือนักวิจัยไทย “เท้าเทียมไดนามิกส์” เป็นของขวัญปีใหม่ให้ผู้พิการฟรี

January 26, 2023
4
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.