mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
เครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้ขับขี่จักรยานยนต์

เครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้ขับขี่จักรยานยนต์

0

                    หากพูดถึงรถจักรยานยนต์หรือมอเตอร์ไซค์ เรียกได้ว่า แทบจะเป็นยานพาหนะคู่ใจของผู้ใช้รถ ใช้ถนนเป็นอย่างมาก ด้วยความสะดวก คล่องตัว และรวดเร็วในการเดินทาง โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น และเมื่อนึกถึงรถจักรยานยนต์ สิ่งที่ต้องมาคู่กันอย่างขาดไม่ได้ คือ หมวกนิรภัย หรือ หมวกกันน็อก ซึ่งนอกจากจะช่วยในเรื่องของความปลอดภัย ป้องกันการบาดเจ็บหนักของศีรษะ ลดแรงกระแทกเมื่อเกิดอุบัติเหตุแล้ว ยังช่วยในเรื่องของการเพิ่มความมั่นใจให้กับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ด้วย แต่ปัญหาสำคัญอย่างหนึ่ง ก็คือ เรื่องของความสะอาด และสุขอนามัยของผู้สวมใส่ เพราะการใช้หมวกกันน็อกอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้มีกลิ่นอับชื้น หรือเกิดการสะสมของเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่มุมของผู้ที่ต้องใช้บริการโดยสารรถจักรยานต์รับจ้างเป็นประจำ

                    ด้วยเหตุนี้ ในการประกวด Prime Minister’s Award 2021 ทีม NWM..Safety Roads 3 Plus จากวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชููทิศ กรุุงเทพมหานคร ซึ่งเล็งเห็นปัญหานี้ จึงได้ทำการศึกษาข้อมูล และคิดผลงานนวัตกรรม ‘เครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้ขับขี่จักรยานยนต์และผู้โดยสาร’ เพื่อสร้างความปลอดภัย และความมั่่นใจให้กับผู้ใช้บริการมอเตอร์ไซค์รับจ้าง จนสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศ ระดับอาชีวศึกษามาครองได้ และในปีนี้ทางทีม NWM..Safety Roads 3 Plus ก็ได้ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการต่อยอดพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ Health Promotion Innovation Booster Program เพื่อต่อยอดผลงานนวัตกรรมให้มีประสิทธิภาพการใช้งานที่ครอบคลุมและตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น

  1.                 รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา สสส. ให้แนวคิดและมุมมองเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานนวัตกรรมแก่เยาวชนว่า เรื่องนวัตกรรมเป็นเรื่องที่คนทุกกลุ่ม ทุกสาขาอาชีพ สามารถคิดและสร้างสรรค์ได้ เพียงแต่คิดสิ่งที่ช่วยอำนวยความสะดวกในด้านใดด้านหนึ่งมากขึ้น นวัตกรรมจึงไม่ใช่เรื่องใหม่ และเรื่องไกลตัว ไม่มีผิดถูก แต่เป็นการทดลอง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์และประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น และในการเข้าร่วมโครงการประกวดนวัตกรรมนั้น สิ่งที่มากกว่ารางวัลที่ได้รับ ก็คือ ประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ที่ได้ระหว่างเข้าร่วมโครงการ ซึ่งอยากให้ทีมเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำสิ่งที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในอนาคต

                นายณเรศ สิงหโยธิน หรือน้องธรรศ ตัวแทนทีม NWM..Safety Roads 3 Plus เล่าว่า เหตุผลที่ต้องการต่อยอดนวัตกรรม ‘เครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย เพื่่อเสริมสร้างสุุขภาวะของผู้ขับขี่่จักรยานยนต์และผู้โดยสาร’ เพื่อพัฒนาชิ้นงานนวัตกรรมเพิ่มเป็นเเบบมีที่หยอดเหรียญ สร้างความสะดวกสบายให้เเก่ผู้ใช้งาน โดยจะพัฒนาให้การหยอดเหรียญมีความเสถียรภาพ สามารถใช้งานได้ตามฟังก์ชันการทำงานที่ต้องการของผู้ใช้งาน สะดวกและรวดเร็ว พร้อมทั้งทำ QR Code อธิบายความสำคัญของนวัตกรรมและคู่มือการใช้งาน ประโยชน์ในการใช้ที่ส่งผลต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตประจำวัน รวมทั้งพัฒนาระบบการทำงานเชื่อมโยงด้วยระบบโทรศัพท์มือถือ ควบคุมการทำงานด้วยการควบคุมผ่านระบบ WIFI  และพัฒนาระบบหลอด UVC ในระบบเพิ่มเติมสร้างการฆ่าเชื้อโรคได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น พร้อมแสดงผลนับระยะเวลาถอยหลังด้วย LCD หรือ LED

 กระบวนการใช้งาน

  1.  นำหมวกนิรภัยที่ต้องการฆ่าเชื้้อโรคใส่ในเครื่่อง (สามารถเสียบปลั๊๊กต่อกับไฟฟ้า 220 โวลต์หรือไฟบ้านทั่่วไป) และปิดประตููเครื่่อง ซึ่่งเครื่่องฆ่าเชื้้อโรคนี้้ สามารถใส่ได้ครั้้งละ 2 ใบ โดยใส่ได้ชั้้นละ 1 ใบ

  2. กดปุ่มเริ่มทำงาน ตั้งวลาตามความต้องการของผู้ใช้ว่าอยากจะฆ่าเชื้อหมวกนิรภัยกี่่นาที โดยจะมีจอแสดงผลการทำงานด้วยจอ LCD

    – 3 นาที เหมาะกับหมวกที่่สกปรกน้อย ทำความสะอาดบ่อย ในระยะ 1-3 วัน

    – 6 นาที เหมาะกับหมวกที่่ใช้ต่อเนื่่องหรือวางทิ้้งไว้เป็นสัปดาห์ โดยไม่ได้ทำความสะอาด

    – 10 นาที แนะนำสำหรับหมวกที่่ใช้งานต่อเนื่่องนานเกินสัปดาห์ โดยไม่ได้ทำความสะอาดเลย หรือหมวกที่ทิ้้งไว้นานจนชื้้น หรือโดนฝนจนชื้้นมาก

  3. รอจนปุ่มสีแดงแสดงขึ้้น จึงสามารถเปิดประตููเครื่่อง หยิบหมวกนิรภัยที่่ทำความสะอาดแล้วไปใช้งานได้   

                 ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักวิชาการและนวัตกรรม สสส. เล่าว่า สิ่งที่เป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาและสร้างสรรค์นวัตกรรม คือ กลุ่มเป้าหมาย หรือผู้ใช้งาน ในส่วนของผลงานนวัตกรรม ‘เครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย เพื่อเสริมสร้างสุุขภาวะของผู้ขับขี่จักรยานยนต์และผู้โดยสาร’ นั้น ถือว่าสามารถตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายได้ เห็นได้จากการนำผลงานไปติดตั้งในพื้นที่ที่มีผู้ใช้งานจริง อย่างวินมอเตอร์ไซค์ ตำรวจจราจร มายืนต่อแถวรอใช้งาน ด้วยรูปลักษณ์ที่เรียบง่าย สะดุดตา ใช้งานง่าย คล้ายกับการใช้งานเครื่องซักผ้าหยอดเหรียญ จึงมีผู้ให้ความสนใจใช้งานเป็นจำนวนมาก เพราะแก้ปัญหาให้กับผู้ใช้ได้จริง

                 มากกว่า ‘รางวัล’ คือ ‘ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างทาง’ สสส. ยังคงมุ่งมั่นสร้างสรรค์ สนับสนุนทุกนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาสังคม สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะ ลดพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ  รวมทั้งสร้างและพัฒนาเยาวชนไทยให้เป็น “เมล็ดพันธุ์นวัตกรสร้างเสริมสุุขภาพ” ที่มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการประดิษฐ์  คิดค้น สร้างสรรค์นวัตกรรมให้สามารถใช้ได้จริง เพื่อสนับสนุุนการสร้างเสริมสุุขภาพของสังคมไทยอย่างยั่งยืน

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรมรถส่องจิ๋ม ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก นำร่อง 3 ตำบลในจ.สงขลา

Next Post

ม.มหิดลค้นพบสารสกัด “แซนโทน” จากเปลือกมังคุด ความหวังใหม่ในการต้านสมองเสื่อม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
ม.มหิดลค้นพบสารสกัด “แซนโทน” จากเปลือกมังคุด ความหวังใหม่ในการต้านสมองเสื่อม

ม.มหิดลค้นพบสารสกัด "แซนโทน" จากเปลือกมังคุด ความหวังใหม่ในการต้านสมองเสื่อม

ไอเดียรักษ์โลกสุดครีเอท “ฟองน้ำจากผักตบชวา” ตอบโจทย์นวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียน

ไอเดียรักษ์โลกสุดครีเอท “ฟองน้ำจากผักตบชวา” ตอบโจทย์นวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียน

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.