mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
เครื่องฆ่าเชื้อหมวกกันน็อคโอโซน นวัตกรรมสุดเจ๋งจากนักศึกษา ปวส.1 วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ

เครื่องฆ่าเชื้อหมวกกันน็อคโอโซน นวัตกรรมสุดเจ๋งจากนักศึกษา ปวส.1 วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ

0

               นายวุฒิธนา สิงเหิน ปวส.1 วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ เปิดเผยภายหลังร่วมกิจกรรม“หยุดสูญเสีย หยุดรถ ให้คนข้ามทางม้าลาย #ความดีที่คุณทำได้” ครั้งที่ 9 โดยได้นำเครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย มาจัดแสดงเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของผู้ขับขี่จักรยานยนต์และผู้โดยสาร  พร้อมกล่าวว่า เนื่องจากอยากให้นักศึกษาในวิทยาลัยสวมหมวกกันน็อคให้แพร่หลาย เป็นประจำด้วยความสมัครใจ ตนและเพื่อนจึงร่วมกันพัฒนาเครื่องฆ่าเชื้อโรคในหมวกนิรภัย ด้วยระบบโอโซนรุ่นแรก และนำไปทดลองใช้ในกลุ่มผู้ขับรถจักรยานยนต์รับจ้าง และส่งโครงการเข้าประกวดที่ สสส. และได้งบประมาณมาจำนวนหนึ่ง ซึ่งก็นำมาพัฒนาเป็นเครื่อง รุ่น 2 ให้มีขนาดเล็กลงและมีความปลอดภัยมากขึ้น โดยการทำงานเครื่องดังกล่าวจะมีพัดลม 3 ตัว เมื่อหยอดเหรียญลงไป กดการทำงานที่ 2 นาที พัดลม 2 ตัว คือข้างหลัง 1 ตัว ข้างใต้ 1 ตัว จะทำการดูดอากาศเข้ามาเพื่อทำปฏิกิริยากับโอโซน พอทำงานครบ 2 นาที พัดลมอีก 1 ตัวจะทำการดูดอากาศออก 20 วินาที ทั้งนี้ จากการทดลองทางจุลชีวะวิทยา โดยซื้อเครื่องตรวจจากแลปมาเอง และมีอาจารย์ทางด้านวิทยาศาสตร์คอยให้คำปรึกษา ทดสอบประเมินผลการทำงานก่อนใช้กับหลังใช้ พบว่าสามารถฆ่าเชื้อรา และแบคทีเรียได้ถึง 99% และขณะนี้ได้ตั้งให้บริการที่วินมอเตอร์ไซต์ 2 แห่งและที่วิทยาลัยอีก 1 แห่ง ผลตอบรับค่อนข้างดี อย่างไรก็ตาม ทางทีมยังมีการพัฒนาเรื่อยๆ เพื่อให้สามารถใช้ และบำรุงรักษาได้เอง  

              ด้าน นายดำรงฤทธิ์ จิตถาวรมณี ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง จุดรับผู้โดยสารระหว่างทางกรมควบคุมโรค และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ต้องสวมหมวกกันน็อค เป็นเวลานานๆ ด้วยสภาพอากาศในเมืองไทยที่ค่อนข้างร้อน เหงื่อออกมาก และล่าสุดในช่วงฤดูฝน จะทำให้มีปัญหาหมักหมมของเชื้อโรคเชื้อราต่างๆ เกิดกลิ่นอับ คันหนังศีรษะ บางคนถึงขั้นผมร่วง ต้องพบหมอ ซื้อยามาทา ส่วนตัวต้องมีหมวกกันน็อคไว้หลายใบไว้สับเปลี่ยน อันไหนที่ไม่ได้ใช้ก็จะนำไปตากแดดเพื่อฆ่าเชื้อ แต่ปัญหาคือบางครั้งไม่มีแดด ยิ่งหน้าฝนยิ่งลำบากหมวกจะมีความอับชื้นมาก เพราะฉะนั้นถ้ามีเครื่องหยอดเหรียญอบฆ่าเชื้อในหมวกกันน็อคได้ตนยินดีใช้บริการเลย เพราะประหยัดเวลาและดีต่อหนังศีรษะ

ShareTweetShare
Previous Post

ทีมนศ.วิศวะมหิดล คิดค้นนวัตกรรม “เครื่องช่วยฟังมหัศจรรย์ (AHDs)” เพื่อผู้ป่วยทางการได้ยิน คว้ารางวัลนานาชาติ

Next Post

สวทช. เดินหน้าวิจัยพัฒนา “รถมินิบัสไฟฟ้าขับขี่อัตโนมัติ” ยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
สวทช. เดินหน้าวิจัยพัฒนา “รถมินิบัสไฟฟ้าขับขี่อัตโนมัติ” ยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์

สวทช. เดินหน้าวิจัยพัฒนา "รถมินิบัสไฟฟ้าขับขี่อัตโนมัติ" ยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์

มข. ต่อยอดงานวิจัยพัฒนาแพลตฟอร์ม AI คัดกรองและแก้ปัญหาการระบาดของโรคพยาธิใบไม้ในตับ

มข. ต่อยอดงานวิจัยพัฒนาแพลตฟอร์ม AI คัดกรองและแก้ปัญหาการระบาดของโรคพยาธิใบไม้ในตับ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.