mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
หุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

หุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์

0

             เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2565 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดกิจกรรมแถลงข่าว “เปิดบ้านงานวิจัยและนวัตกรรม By NRCT ภายใต้ชื่อ NRCT TALK : ผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ครั้งที่ 1” ด้วยนวัตกรรมสุดล้ำ “หุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์” โดยมี ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ เป็นประธานเปิดกิจกรรมฯ ณ ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศกลางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ  สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ถนนพหลโยธินกรุงเทพมหานคร

             ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า วช. ให้ความสำคัญต่อการสร้างนักวิจัยและนักประดิษฐ์ในการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนางานที่ยกย่องเชิดชูประกาศเกียรติคุณผลงานที่มีผลงานวิจัยและนวัตกรรมในสถาบันการศึกษา โดยเสริมสร้างและถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะและเทคนิคด้านนวัตกรรม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้เข้าใจและเห็นถึงความสำคัญของการวิจัยและพัฒนา อันจะเป็นการสร้างและพัฒนาเยาวชนให้เป็นนักวิจัยและนักประดิษฐ์ที่มีคุณภาพและศักยภาพในการเติบโตเป็นบุคลากรทางการวิจัยของประเทศต่อไป ซึ่งในวันนี้ วช. ได้มีการเปิดตัว 1 ในผลงานที่เข้าร่วมประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2565 จนคว้ารางวัลระดับดี ด้านการพัฒนาเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ อุปกรณ์อัจฉริยะ (ระดับบัณฑิตศึกษา) กับนวัตกรรมสุดล้ำ “หุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์” ของ นางสาวชนิตา ตัณฑเจริญรัตน์ นักศึกษาสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ผศ. ดร. มนต์อมร ปรีชารัตน์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาผลงานนวัตกรรมดังกล่าว

               ผศ. ดร. มนต์อมร ปรีชารัตน์ และ นางสาวชนิตา ตัณฑเจริญรัตน์ เปิดเผย หุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่พัฒนาขึ้นนี้ ใช้สำหรับการเรียนการสอนนักศึกษาพยาบาลเรื่องทักษะฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิด ซึ่งเป็นการฉีดยาบริเวณต้นขา และมีความลึกของการฉีดยาแตกต่างกับวัยอื่น ๆ โดยหุ่นฝึกนี้สามารถให้คำแนะนำ (feedback) ผู้เรียนในเรื่องความถูกต้องของตำแหน่งการฉีดยาและระดับความลึกของเข็ม เมื่อผู้เรียนปฏิบัติได้ถูกต้องหุ่นยนต์จะแจ้งเตือนด้วยระบบขึ้นมาว่า “เยี่ยมมาก” หากผู้เรียนปฏิบัติไม่ถูกต้องระบบจะแจ้งเตือนขึ้นมาอีกครั้งว่า “ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง” ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกหัดและเรียนรู้ถึงทักษะระดับการเรียนรู้ของตนเอง และพัฒนาทักษะการฉีดยาของตนให้ดีขึ้นจากคำแนะนำที่ได้รับ รวมถึงการฝึกด้วยหุ่นฝึกฯ ยังสามารถทำให้เกิดความมั่นใจในการฉีดยา จนสามารถฉีดยาอย่างถูกต้องและเกิดความมั่นใจกับผู้ป่วยจริงได้ นอกจากนี้ ผลงานชิ้นนี้ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาไม่แพง และหาได้ง่ายในชุมชน แต่สามารถให้ประโยชน์ได้ใกล้เคียงกับนวัตกรรมที่จำหน่ายในท้องตลาดที่มี่ราคาสูง จึงนับว่าเป็นข้อดีของการพัฒนาผลงานชิ้นนี้ขึ้นมาเป็นสื่อการเรียนการสอนเรื่องการฉีดยาทารกแรกเกิด ให้กับกลุ่มนักศึกษาพยาบาลในประเทศไทย 

             ซึ่งกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับประโยชน์จากหุ่นยนต์ฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทารกแรกเกิดด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์นี้ คือ สถานศึกษา และบุคลากรสาธารณสุข ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการฝึกอบรมบุคลากรให้เกิดความมั่นใจและการฉีดยาที่ถูกต้อง ทั้งนี้ได้มีการนำไปนวัตกรรมดังกล่าวไปทดลองใช้กับพยาบาลวิชาชีพที่มีความชำนาญในการฉีดยาทารกแรกเกิดและได้ลงความเห็นว่าสิ่งประดิษฐ์นี้มีประโยชน์ต่อวงการแพทย์เป็นอย่างมากในการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์ในด้านการแพทย์อย่างสูงสุด

ShareTweetShare
Previous Post

มจธ.พัฒนา เครื่องผลิตไฮโดรเจนจากเอทานอลจากรถตุ๊กตุ๊ก สู่อุตสาหกรรมพลังงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Next Post

Ai9 พัฒนานวัตกรรมถอดเสียงเป็นข้อความ วิเคราะห์ครบจบในขั้นตอนเดียวด้วย AI

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
Ai9 พัฒนานวัตกรรมถอดเสียงเป็นข้อความ วิเคราะห์ครบจบในขั้นตอนเดียวด้วย AI

Ai9 พัฒนานวัตกรรมถอดเสียงเป็นข้อความ วิเคราะห์ครบจบในขั้นตอนเดียวด้วย AI

“deeple”  ระบบจัดการร้านค้าออนไลน์ครบวงจร ด้วยเทคโนโลยี AI

"deeple" ระบบจัดการร้านค้าออนไลน์ครบวงจร ด้วยเทคโนโลยี AI

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.