mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มิว สเปซ ส่ง “ชิ้นส่วนดาวเทียมสื่อสารดวงแรกฝีมือคนไทย” เข้ารับการทดสอบผ่านมาตรฐานสากลโดย GISTDA

มิว สเปซ ส่ง “ชิ้นส่วนดาวเทียมสื่อสารดวงแรกฝีมือคนไทย” เข้ารับการทดสอบผ่านมาตรฐานสากลโดย GISTDA

0

             บริษัท มิว สเปซ แอนด์ แอดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มิว สเปซ) ผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีอวกาศในประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนการบินและอวกาศ และผู้ให้บริการการสื่อสารผ่านดาวเทียม เดินหน้าพัฒนาดาวเทียมเพื่อการสื่อสารฝีมือคนไทยอย่างต่อเนื่อง โดยช่วงวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2565 ที่ผ่านมา มิว สเปซ ได้นำชิ้นส่วนดาวเทียมเข้าทดสอบประสิทธิภาพกับสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ หรือ GISTDA ซึ่งปัจจุบันได้เปิดให้บริการเพื่อการทดสอบวัตถุที่เตรียมนำส่งขึ้นชั้นบรรยากาศโดยได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล ถือได้ว่าการทดสอบครั้งนี้ คือการทดสอบชิ้นส่วนดาวเทียมสื่อสารดวงแรกที่พัฒนาและผลิตขึ้นโดยคนไทย และทำการทดสอบโดยองค์กรภาครัฐของไทย

              มิว สเปซ ได้ก่อตั้งโรงงาน Factory 1 ขึ้นเพื่อดำเนินการสำหรับการออกแบบ พัฒนา และผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ ตลอดจนการประกอบดาวเทียมขนาดเล็กทั้งดวงจนสมบูรณ์พร้อมใช้งาน โดยทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญภายในบริษัทฯ และชิ้นส่วนดาวเทียมที่ มิว สเปซ ได้นำมาทำการทดสอบกับ GISTDA คือ “Reaction Wheel” ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ภายในดาวเทียมมีหน้าที่ช่วยในเรื่องการทรงตัวและการเคลื่อนที่ของดาวเทียมบนชั้นบรรยากาศซึ่งอยู่ในสภาวะไร้น้ำหนักทำให้ยากต่อการทรงตัว เข้าทำการทดสอบประสิทธิภาพ “Vibration Testing” หรือ “การทดสอบในสภาวะการสั่นสะเทือน” ขั้นตอนการทดสอบนี้ถือได้ว่าเป็นการทดสอบขั้นพื้นฐานที่สำคัญ เนื่องจากชิ้นส่วนอาจแตกและสร้างผลกระทบความเสียหายต่อเนื่องไปยังส่วนอื่น ๆ ภายในดาวเทียมได้ หากชิ้นส่วนนั้นไม่สามารถทนต่อสภาวะการสั่นสะเทือนที่ไม่อาจเลี่ยงได้จากการนำวัตถุขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ โดยผลการทดสอบครั้งนี้ได้ผ่านมาตรฐานและได้รับการรับรองจาก SSTL/Airbus และมาตรฐาน AS9100 D จาก GISTDA

              ปัจจุบัน GISTDA พร้อมด้วยสถานที่ เครื่องมือ และผู้เชี่ยวชาญในการทดสอบที่สามารถให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตรงความเป็นจริงตามหลักเกณฑ์มาตรฐานสากล ซึ่งการทดสอบนี้ ช่วยให้ผลิตภัณฑ์และชิ้นส่วนดาวเทียมที่จะนำขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศของ มิว สเปซ มีคุณภาพและได้รับความน่าเชื่อถือจากลูกค้า อีกทั้งการเดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการช่วยสร้างรากฐานความพร้อมให้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่ตลาดธุรกิจด้านเทคโนโลยีอวกาศระดับโลกได้

              ทั้งนี้ บริษัท มิว สเปซ ผู้ผลิตและพัฒนาดาวเทียมสื่อสารโดยฝีมือคนไทย ได้พยายามผลักดันวงการเทคโนโลยีอวกาศอย่างเต็มกำลัง เพื่อยกระดับเศรษฐกิจไทยในด้านต่าง ๆ รวมทั้งสร้างโอกาสและรายได้ให้กับคนในประเทศไทย และนอกจากนี้ มิว สเปซ ยังพร้อมด้วยกำลังการสนับสนุนจากเหล่านักลงทุนทั้งภายในประเทศและต่างชาติ อาทิ นักลงทุนชั้นนำอย่างบริษัท บี.กริม จอยน์ เว็นเจอร์ – อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าเอกชนของไทย รวมถึงบริษัท Majuven Fund พร้อมกลุ่มนักธุรกิจเอกชนต่าง ๆ เช่น ผู้บริหารจากมูลนิธิมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลอสแอนเจลิส (UCLA) รวมทั้งนักลงทุนรายอื่น ๆ อีกมากมาย อย่างไรก็ตาม โครงการต่าง ๆ ของมิว สเปซ กำลังเป็นที่น่าจับตามองของกลุ่มนักลงทุนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้เป็นอย่างมาก ซึ่งเชื่อมั่นว่าจะเป็นการสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถก้าวขึ้นเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีอวกาศในภูมิภาคนี้ได้อย่างยั่งยืน

ShareTweetShare
Previous Post

นวัตกรรมชีวการแพทย์สุดล้ำ “ไบโอพลาสม่าสำหรับรักษาแผลเบาหวาน – เซลส์บำบัดรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว”

Next Post

ม.มหิดล ไขปริศนาแห่งธรรมชาติ ด้วย “เทคโนโลยีโอมิกส์”

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

“Opensignal” เพิ่มแผนที่เช็คเครือข่าย ทดสอบความเร็ว 5G
Telecom

“Opensignal” เพิ่มแผนที่เช็คเครือข่าย ทดสอบความเร็ว 5G

2 years ago
41
4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์
4G

4G นอกโลก! โนเกียเตรียมพร้อมติดตั้งเครือข่ายมือถือบนดวงจันทร์

3 years ago
63
4G

HMD Global เปิดตัว Nokia6300 4G และ Nokia8000 4G

3 years ago
87
Load More
Next Post
ม.มหิดล ไขปริศนาแห่งธรรมชาติ ด้วย “เทคโนโลยีโอมิกส์”

ม.มหิดล ไขปริศนาแห่งธรรมชาติ ด้วย "เทคโนโลยีโอมิกส์"

“ไมโครสไปก์” นวัตกรรมแผ่นเข็มจิ๋วออกแบบได้ตามสั่ง เจาะตลาดสุขภาพและความงาม

“ไมโครสไปก์” นวัตกรรมแผ่นเข็มจิ๋วออกแบบได้ตามสั่ง เจาะตลาดสุขภาพและความงาม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.