mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
สกาย ไอซีที เปิดตัว “VIMARNN” แอปพลิเคชันบริหารจัดการผู้มาติดต่อภายในอาคาร

สกาย ไอซีที เปิดตัว “VIMARNN” แอปพลิเคชันบริหารจัดการผู้มาติดต่อภายในอาคาร

0

              สกาย ไอซีที (SKY) เปิดตัว “VIMARNN” แอปพลิเคชันบริหารจัดการผู้มาติดต่อภายในอาคาร ยกระดับการให้บริการแบบครบวงจร ผ่าน 4 ฟีเจอร์ Visitor ลงทะเบียนผู้มาเยือนล่วงหน้า LPR ตรวจจับป้ายทะเบียนรถ Face Recognition จดจำใบหน้า และ E-Stamp ยืนยันเลขทะเบียนรถก่อนออกจากโครงการ ควบคุมการเข้าออกพื้นที่อัตโนมัติ

              นายขยล ตันติชาติวัฒน์ ประธานเจ้าหน้าที่สายงานการตลาด บริษัท สกาย ไอซีที จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า หลังบริษัทเปิดตัวผลิตภัณฑ์เรือธง “TOSSAKAN” แพลตฟอร์มด้านความปลอดภัย เพื่อให้บริการและโซลูชันสู่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ก่อนขยายขีดความสามารถด้วยแอปพลิเคชัน “VIMARNN” หรือแอป “วิมาน” ระบบบริหารจัดการผู้มาติดต่อ (Visitor Management System : VMS) มุ่งมั่นพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะให้ครอบคลุมและทำงานได้เต็มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

              สำหรับแอปพลิเคชัน “VIMARNN” จะช่วยให้สามารถบริหารจัดการผู้มาติดต่อได้ด้วยปลายนิ้วผ่านฟีเจอร์ Visitor โดยเจ้าบ้านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อเชิญผู้มาติดต่อได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม สามารถลงทะเบียนข้อมูลเลขทะเบียนรถและกำหนดเวลาเข้าออกของผู้มาติดต่อได้ล่วงหน้า โดยแอปได้เชื่อมโยงกับเทคโนโลยี AI ผ่านระบบอ่านป้ายทะเบียนรถอัตโนมัติ (License Plate Recognition : LPR) และระบบจดจำใบหน้า (Face Recognition) เพื่อช่วยตรวจสอบและยืนยันตัวตนผู้มาติดต่อ พร้อมอำนวยความสะดวกให้เจ้าบ้านและผู้มาติดต่อสามารถเข้าออกพื้นที่ได้อัตโนมัติ ภายในแอปเสริมด้วยฟีเจอร์ E-Stamp ใช้ยืนยันการอนุญาตออกจากโครงการผ่านเลขทะเบียนรถได้ทันที ซึ่งข้อมูลการเข้าออกทั้งหมดจะถูกแสดงผลบน Operation Dashboard ให้ผู้ดูแลโครงการเฝ้าระวังได้แบบเรียลไทม์ พร้อมแจ้งเตือนสถานะผู้มาติดต่อไปยังเจ้าบ้านทันที  

              ทั้งนี้ สกาย ไอซีที พัฒนาแอปพลิเคชัน VIMARNN เพื่อต่อยอดจากแพลตฟอร์ม TOSSAKAN ให้ยกระดับสู่ Smart Security Ecosystem ดูแลความปลอดภัยในโครงการที่อยู่อาศัยได้แบบครบวงจร โดยมีจุดเด่นคือการเชื่อมต่อฐานข้อมูลร่วมกัน ซึ่งข้อมูลผู้มาติดต่อทั้งหมดจะถูกจัดเก็บไว้ในระบบ Cloud Storage ที่มีความปลอดภัยในการจัดเก็บข้อมูล และช่วยให้การทำงานของเจ้าหน้าที่นิติบุคคล หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมีความคล่องตัวในการทำงาน สามารถนำไปใช้ในการวางแผนและยกระดับความปลอดภัยภายในโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ

              “แอปพลิเคชัน VIMARNN พร้อมช่วยให้ลูกค้าองค์กรกลุ่มอสังหาฯ สามารถบริหารจัดการผู้มาติดต่อภายในโครงการที่อยู่อาศัย เพื่อส่งมอบบริการที่ดียิ่งขึ้นและเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ลูกบ้าน นอกจากนี้ ยังช่วยลดต้นทุนในการพัฒนาระบบของลูกค้าเช่นเดียวกัน”

               เบื้องต้น สกาย ไอซีทีจะเน้นเข้าไปนำเสนอโซลูชันที่ครอบคลุมอสังหาริมทรัพย์ทั้ง 7 กลุ่ม ได้แก่ 1.โครงการที่อยู่อาศัย ทั้งคอนโดมิเนียมและบ้านจัดสรร 2.อาคารสำนักงาน 3.โรงแรม 4.โรงพยาบาล 5.โรงงาน 6.อาคารเชิงพาณิชย์หรือห้างสรรพสินค้า 7.สถานศึกษา ตั้งแต่โรงเรียนจนถึงมหาวิทยาลัย

ShareTweetShare
Previous Post

สธ.เพิ่ม 2 ฟังก์ชันใหม่ “หมอพร้อม” ประเมินภาวะลองโควิดและตวจสุขภาพใจ

Next Post

โปรแกรมช่วยจักษุแพทย์คัดกรองภาวะเบาหวานขึ้นจอตา ลดเสี่ยงตาบอดไม่รู้ตัว จากม.มหิดล

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

1 week ago
98
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

5 months ago
21
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

5 months ago
7
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

5 months ago
18
Load More
Next Post
โปรแกรมช่วยจักษุแพทย์คัดกรองภาวะเบาหวานขึ้นจอตา ลดเสี่ยงตาบอดไม่รู้ตัว จากม.มหิดล

โปรแกรมช่วยจักษุแพทย์คัดกรองภาวะเบาหวานขึ้นจอตา ลดเสี่ยงตาบอดไม่รู้ตัว จากม.มหิดล

นวัตกรรม DRAG KOOLER แผ่นเช็ดตัวสมุนไพร ตัวช่วยลดไข้เด็ก

นวัตกรรม DRAG KOOLER แผ่นเช็ดตัวสมุนไพร ตัวช่วยลดไข้เด็ก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
98

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.