mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มทร.พระนคร วิจัย “แก้วเซรามิกชีวภาพระดับนาโน” สู่นวัตกรรมรักษามะเร็ง

มทร.พระนคร วิจัย “แก้วเซรามิกชีวภาพระดับนาโน” สู่นวัตกรรมรักษามะเร็ง

0

              แก้วและแก้วเซรามิกชีวภาพ (bioactive glasses and glass-ceramics) ถูกนำมาใช้ในการใช้งานทางการแพทย์ อย่างกว้างขวาง เนื่องจากมีคุณสมบัติความเข้ากันได้ดีทางชีวภาพกับเนื้อเยื่อของมนุษย์ ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาวัสดุเหล่านี้ให้มีสมบัติทางแม่เหล็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์เพิ่มขึ้น นั่นคือการรักษาโรคมะเร็ง โดยเฉพาะในกรณีการนำวัสดุปลูกถ่ายทดแทนกระดูก (bone grafts) โดยใช้ความร้อนแบบไฮเปอเทอเมีย (Hyperthermia) ซึ่ง ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล อาจารย์สาขาวิชาวัสดุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จึงได้ศึกษาวิจัยการควบคุมขนาดของอนุภาคสารแม่เหล็กในแก้วเซรามิกชีวภาพ เพื่อให้ได้ผลของสมบัติแม่เหล็กที่เหมาะต่อการนำไปใช้งานทางด้าน Hyperthermia ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

              ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล กล่าวว่า การทำลายเซลล์มะเร็งโดยใช้ความร้อนแบบไฮเปอเทอเมีย (Hyperthermia) จะนำเอาสารแม่เหล็กฝังเข้าไปเฉพาะบริเวณเนื้องอกมะเร็ง เมื่อสารแม่เหล็กเหล่านั้นอยู่ภายใต้สนามแม่เหล็กจะให้ความร้อนออกมา ที่อุณหภูมิประมาณ 41-43 องศาเซลเซียส ซึ่งข้อดีของการรักษาโดยใช้การเหนี่ยวนำให้เกิดความร้อนนี้ จะทำลายแต่เฉพาะเซลล์มะเร็งแต่ไม่ทำอันตรายต่อเนื้อเยื่อปกติที่อยู่โดยรอบ

             ตนจึงพัฒนากระบวนการผลิตแก้วเซรามิกชีวภาพ ที่ประกอบไปด้วยผลึกของสารแม่เหล็กออกไซด์ โดยการควบคุมขนาดและชนิดของผลึก ด้วยการใช้กระบวนการทางความร้อน (heat treatment) ในการปลูกผลึกในแก้วชีวภาพ ซึ่งขั้นตอนการวิจัยประกอบด้วย การเตรียมแก้วเซรามิกชีวภาพ 45S5 ที่เป็นแก้วทางการค้าและมีการเติมสารแม่เหล็กที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย จากนั้นจึงปลูกผลึกในแก้ว เพื่อให้เปลี่ยนโครงสร้างเป็นแก้วเซรามิกที่มีผลึกนาโนของแม่เหล็ก

            โดยผลจากการวิจัยในห้องปฎิบัติการพบว่า แก้วเซรามิกที่ได้มีเฟสองค์ประกอบที่สามารถเข้าได้กันกับสารละลายเลือดเทียม โดยสามารถแตกตัวให้ไอออนที่สร้างเซลล์กระดูก แสดงถึงความเข้ากันได้ทางชีวภาพของชิ้นงาน อีกทั้งสมบัติทางแม่เหล็กที่วัดได้แสดงถึงความเป็นแม่เหล็กแบบชั่วคราว และเมื่อให้ค่าสนามแม่เหล็กซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ชิ้นงานแก้วเซรามิกสามารถสร้างความร้อนได้และเมื่อทดสอบความเป็นพิษในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต พบว่าสารตัวอย่างที่สังเคราะห์ทั้งหมดไม่มีความเป็นพิษกับเซลล์ทุกเงื่อนไข

              ผศ.ดร.วิไลวรรณ กล่าวอีกว่า อย่างไรก็ตาม ในการสังเคราะห์แก้วชีวภาพที่มีสารแม่เหล็กนี้ต้องมีการควบคุมปัจจัยที่สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นอุณหภูมิ การตกผลึก (crystallization temperature) หรืออัตราในการให้ความร้อนแบบอนุพันธ์ (differential thermal analysis: DTA) ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพของการนำใช้ในการรักษาแบบ Hyperthermia โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการลดปริมาณสารแม่เหล็กในแก้วเซรามิกชีวภาพให้น้อยที่สุด แต่ยังคงประสิทธิภาพในการรักษาที่ดี เพื่อให้มีสารตกค้างในร่างกายเหลือน้อยที่สุดเท่าที่ทำได้

               “คาดหวังว่าโครงการประดิษฐ์แก้วเซรามิกชีวภาพ ที่ประกอบไปด้วย ผลึกเฟอร์โร-แมกเนติก (Ferromagnetic Substances) ระดับนาโนนี้ จะสามารถผลิตต้นแบบที่มีจุดขายอันโดดเด่นคือ เป็นแก้วเซรามิกชีวภาพที่อนุภาคระดับนาโนด้วยเทคนิคที่ง่าย ใช้ต้นทุนการผลิตต่ำ ซึ่งเป็นการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการนำมาใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง และสามารถต่อยอดในการจดสิทธิบัตรของไทยได้อีกด้วย”  ผศ.ดร.วิไลวรรณ ลีนะกุล กล่าว

                 ผู้สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ โทรศัพท์ 08 9266 2485

ShareTweetShare
Previous Post

อุปกรณ์ช่วยแสดงตำแหน่งของ QR Code สำหรับผู้พิการทางการเห็น

Next Post

จุฬาฯ พัฒนา “ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ” นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิง

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
จุฬาฯ พัฒนา “ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ” นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิง

จุฬาฯ พัฒนา “ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ” นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิง

สวทช. พัฒนา “น้ำยาฆ่าเชื้อโรคผสมซิงค์นาโนอิมัลชั่น” ทำลายเชื้อได้หลายชนิด ปลอดภัยทั้งต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

สวทช. พัฒนา “น้ำยาฆ่าเชื้อโรคผสมซิงค์นาโนอิมัลชั่น” ทำลายเชื้อได้หลายชนิด ปลอดภัยทั้งต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
98

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.