mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “ลูมิดาร์ท” แผ่นเข็มนำแสงสามมิติเพื่อฟื้นฟูผิว

นวัตกรรม “ลูมิดาร์ท” แผ่นเข็มนำแสงสามมิติเพื่อฟื้นฟูผิว

0

              นักวิจัยนาโนเทค สวทช.  พัฒนา “ลูมิดาร์ท (LumiDart)” แผ่นเข็มนำแสงสามมิติที่มีขนาดเล็กมากในระดับไมโครเมตร ที่ผสานเทคโนโลยีเข็มขนาดไมโคร (MicroNeedles) กับการบำบัดผิวด้วยการฉายแสง (Phototherapy)สู่ตัวช่วยนำพาแสงไปยังชั้นใต้ผิวหนังโดยตรง ด้วยจุดเด่นคือ ใช้ความเข้มแสงน้อย เพิ่มประสิทธิภาพ และไม่เจ็บ แก้ปัญหาผิว อาทิ สิว จุดด่างดำ ผิวหน้าหย่อนคล้อย หรือรอยแผลเป็นจากสิว

              ปัญหาผิวและความสวยความงาม ยังคงเป็นความต้องการอันดับต้นๆ การเผชิญหน้ากับวิกฤตโควิด-19 ที่ทำให้สถานเสริมความงามต่างๆ ต้องปิดให้บริการชั่วคราว ทำให้ผู้บริโภคต้องการการดูแลผิวพรรณในรูปแบบที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ตลาดผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับผิวพรรณและความสวยงาม โดยเฉพาะอุปกรณ์เสริมความงามที่เน้นเรื่องของนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่สามารถใช้ได้เองเกิดการขยายตัวและมีมูลค่าทางการตลาดมากกว่า 900 ล้านบาทในประเทศไทย

                ไพศาล ขันชัยทิศ หัวหน้าทีมวิจัยเข็มระดับนาโน กลุ่มวิจัยวัสดุตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงประยุกต์ความเชี่ยวชาญด้านเข็มระดับไมโครเมตรและนาโนเมตรสู่ “ลูมิดาร์ท (LumiDart) แผ่นนำแสงสามมิติเพื่อฟื้นฟูผิว”

             โดย ลูมิดาร์ท เป็นการนำแผ่นเข็มนำแสงสามมิติที่ได้มีการวิจัยและพัฒนาโดยนาโนเทค ที่มีขนาดเล็กมากในระดับไมโครเมตร ผสานกับเทคโนโลยีการบำบัดผิวด้วยการฉายแสง หรือ Phototherapy ซึ่งใช้แสงจากแอลอีดี (Light Emitting Diode: LED) ส่องผ่านเข้าไปใต้ผิว เพื่อบำบัดและฟื้นฟูสภาพผิวจากภายในสู่ภายนอก เทคโนโลยีนี้ใช้แสงแอลอีดีเป็นแหล่งกำเนิดแสง แสงแต่ละสีมีค่าความยาวคลื่นแสงที่ต่างกัน จึงมีคุณสมบัติให้การบำบัดที่แตกต่างกันออกไป เช่น แสงสีฟ้า (ความยาวคลื่น 470 นาโนเมตร) จะมุ่งเน้นไปที่การรักษาสิว ส่วนแสงสีแดง (ความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร) จะช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจนและลดเลือนริ้วรอย เป็นต้น 

            “การใช้แสงในการบำบัดนั้น จำเป็นต้องใช้พลังงานสูงมาก ทำให้แสงทำปฏิกิริยากับเซลล์ผิวได้ ดังนั้น เราจึงประยุกต์ใช้ร่วมกับแผ่นเข็มนำแสงสามมิติระดับไมโครเมตร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดโดยการนำพาแสงไปยังชั้นใต้ผิวหนังได้โดยตรงเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด จึงใช้พลังงานหรือความเข้มแสงน้อย ซึ่งช่วยลดอันตรายจากการได้รับแสงความเข้มสูงเป็นเวลานาน ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดต่อผู้ใช้งาน” ไพศาลกล่าว

               ผลการทดสอบเมื่อเทียบกับการใช้เทคโนโลยีการบำบัดผิวด้วยการฉายแสง หรือ Phototherapy แบบเดิม พบว่า เทคโนโลยีการบำบัดผิวด้วยแสงด้วยลูมิดาร์ทนี้ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ดีกว่าถึง 4 เท่า ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดผิวด้วยการกระตุ้นกลไกให้ผิวฟื้นฟูสภาพได้ด้วยตนเอง ใช้ได้กับทุกส่วนของร่างกาย และยังสามารถใช้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ 

              นอกจากนี้ นักวิจัยนาโนเทคชี้ว่า นวัตกรรมลูมิดาร์ทนี้ ยังสามารถผลิตได้หลากหลายรูปแบบตามความต้องการ มีความแม่นยำสูง และสามารถผลิตได้จำนวนมาก หากสถานการณ์ปกติ ยังสามารถนำนวัตกรรมนี้ไปใช้ควบคู่กับการการฉายแสงบำบัดผิว เพื่อฟื้นฟูสภาพผิวเพื่อความงามตามร่างกาย ทำให้สามารถเข้าถึงเป้าหมายในกลุ่มของสถานเสริมความงาม นอกเหนือจากกลุ่มธุรกิจที่มีความสนใจในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้าอีกด้วย

               “เรามุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำทางนวัตกรรมของเข็มไมโครนีดเดิล สำหรับนวัตกรรมที่เราพัฒนาขึ้นนี้สามารถต่อยอดไปใช้ในทางการแพทย์ โดยใช้ร่วมกับการรักษาความผิดปกติหรือโรคต่างๆ ทางผิวหนังได้ เมื่อได้รับการควบคุมการผลิตภายใต้การแนะนำของแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ” ไพศาลกล่าว

               ปัจจุบัน ลูมิดาร์ท (LumiDart) แผ่นนำแสงสามมิติเพื่อฟื้นฟูผิวนี้ กำลังดำเนินการจดสิทธิบัตร และพร้อมในการเจรจาเพื่อหาพันธมิตร นำเทคโนโลยีไปสู่การใช้งานจริงต่อไป และจะนำมาจัดแสดงภายในงาน Health Tech Thailand 2021 มหกรรมนวัตกรรมการแพทย์และสุขภาพแห่งปี ภายใต้แนวคิด “The Sustainable Solutions of Health & Wellness” โดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ซึ่ง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ระหว่างวันที่ 8-9 ธันวาคม 2564 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย

ShareTweetShare
Previous Post

กพร. เปิดตัว “แบตเตอรี่โพแทสเซียมไอออนต้นแบบ” ครั้งแรกของไทย หนุนอุตสาหกรรม EV

Next Post

มทร.พระนคร วิจัย “เนยถั่วดาวอินคา” ตอบโจทย์นวัตกรรมอาหารแนวใหม่

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
มทร.พระนคร วิจัย “เนยถั่วดาวอินคา” ตอบโจทย์นวัตกรรมอาหารแนวใหม่

มทร.พระนคร วิจัย “เนยถั่วดาวอินคา” ตอบโจทย์นวัตกรรมอาหารแนวใหม่

“คูฬเดนท์” นวัตกรรมดูแลช่องปากเหมาะสำหรับทุกวัย จากคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

“คูฬเดนท์” นวัตกรรมดูแลช่องปากเหมาะสำหรับทุกวัย จากคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาฯ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.