mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
รพ.มะเร็งชีวามิตรา ชู “Liquid Biopsy” นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์มะเร็งจากเลือด ไม่ต้องผ่าตัดชิ้นเนื้อ

รพ.มะเร็งชีวามิตรา ชู “Liquid Biopsy” นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์มะเร็งจากเลือด ไม่ต้องผ่าตัดชิ้นเนื้อ

0

            นายแพทย์ธนุตม์ ก้วยเจริญพานิชก์ ผู้อำนวยการ โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา โรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางโรคมะเร็งแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เผยว่า Liquid Biopsy (ลิควิด ไบออฟซี่) นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์มะเร็งจากเลือด ในขั้นตอนที่สะดวกและรวดเร็วเพื่อค้นหาการเปลี่ยนแปลง การกลายพันธุ์ หรือความผิดปกติของยีนมะเร็ง นำไปสู่การวิเคราะห์ที่ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่แม่นยำกว่า 90% ภายในระยะเวลาเพียง 12 วัน และนำผลการตรวจที่บ่งบอกได้ก่อนการรักษา ถึงความเสี่ยงต่าง ๆ ของผู้ป่วย รวมทั้งช่วยให้สามารถเลือกวิธีการรักษาได้อย่างเหมาะสม ถูกตำแหน่ง ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบพุ่งเป้า ทำลายเฉพาะเชื้อมะเร็ง จึงช่วยให้การรักษามีประสิทธิภาพสูง ในขณะที่ส่งผลข้างเคียงต่อร่างกายผู้ป่วยน้อยที่สุด นอกจากนี้ Liquid Biopsy ยังสามารถใช้ในการตรวจซ้ำกับผู้ป่วยที่เคยเป็นมะเร็งแล้วกลับมาเป็นซ้ำได้อีกด้วย

            “Liquid Biopsy เป็นอีกทางเลือกใหม่สำหรับการตรวจวินิจฉัยมะเร็งในวงการแพทย์ หลังจากการตรวจพื้นฐานและประเมินระยะของมะเร็งในปัจจุบันผ่านวิธีการซักประวัติและตรวจร่างกาย การ X-Ray หรือการ CT Scan รวมทั้งการผ่าตัดชิ้นเนื้อมะเร็งเพื่อดูความผิดปกติของเซลล์ ปัจจุบัน Liquid Biopsy เป็นนวัตกรรมทางเลือก มีขั้นตอนการตรวจที่ง่าย รวดเร็ว แม่นยำกว่า 90% และสามารถช่วยลดความเสี่ยงหลายประการ เพียงเจาะเลือดจากผู้ป่วย และวินิจฉัยจากดีเอ็นเอ (DNA) เป็นทางเลือกสำหรับกลุ่มผู้ป่วยที่ตรวจพบแล้วว่าเป็นมะเร็ง และต้องการวางแผนการรักษาที่รวดเร็ว ผู้ป่วยมะเร็งพบชิ้นเนื้อซ้ำทั้งจุดเดิม หรือแพร่กระจายไปยังจุดอื่นในร่างกาย ผู้ป่วยมะเร็งที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วยสูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงจากการผ่าตัด ด้วยตำแหน่งของมะเร็งที่อยู่บริเวณอวัยวะสำคัญ ผ่าตัดชิ้นเนื้อได้ยาก เกิดกังวลในการผ่าตัด เพราะหากตัดออกมาแล้วอาจทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บ หรือได้รับอาการข้างเคียงที่รุนแรง”

            “อย่างไรก็ดี Liquid Biopsy นวัตกรรมการแพทย์ทางเลือกที่ช่วยให้การตรวจพบ และการรายงานผลเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วยจากมะเร็งได้มากขึ้น รวมทั้งเพิ่มโอกาสที่ผู้ป่วยจะหายเป็นปกติได้ และช่วยในการติดตามผลการรักษาว่าเซลล์มะเร็งจะกลายพันธุ์ไปหรือไม่ อย่างไร เพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษาได้อย่างถูกต้อง ทันท่วงที และเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย นับว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในวงการแพทย์เพื่อผู้ป่วยมะเร็ง ลดอัตราการเสียชีวิตของคนไทยจากโรคมะเร็งได้ในปัจจุบันและอนาคต” 

ShareTweetShare
Previous Post

“มอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าพ่วงข้าง” นวัตกรรมต้นแบบยานยนต์ไฟฟ้า รองรับการขนส่งยานยนต์ในอนาคต

Next Post

มหิดล คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการติดตามการแพร่กระจาย PM2.5 ด้วยดาวเทียม

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
มหิดล คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการติดตามการแพร่กระจาย PM2.5 ด้วยดาวเทียม

มหิดล คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการติดตามการแพร่กระจาย PM2.5 ด้วยดาวเทียม

อว.แถลงข่าวจัดงาน “TechnoMart 2021” โชว์ผลงานนวัตกรรมที่คิดค้นขึ้นโดยคนไทย ผ่านภาพจำลองบนยานอวกาศ

อว.แถลงข่าวจัดงาน “TechnoMart 2021” โชว์ผลงานนวัตกรรมที่คิดค้นขึ้นโดยคนไทย ผ่านภาพจำลองบนยานอวกาศ

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.