mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มทร.อีสานร่วมกับเรือนจำกลางคลองไผ่ พัฒนา “ระบบตรวจจับใบหน้าเพื่อตรวจนับจำนวนผู้ต้องขัง”

มทร.อีสานร่วมกับเรือนจำกลางคลองไผ่ พัฒนา “ระบบตรวจจับใบหน้าเพื่อตรวจนับจำนวนผู้ต้องขัง”

0

             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) ได้พัฒนาความรู้สร้างโปรแกรมเพื่อเป็นตัวช่วยการทำงานของเจ้าหน้าที่ในเรือนจำ กับผลงานพัฒนาโปรแกรมตรวจจับใบหน้าผู้ต้องขัง

             จากปัญหาที่นายเผด็จ หริ่งรอด ผู้บัญชาการเรือนจำกลางคลองไผ่ เปิดเผยว่า เรือนจำกลางคลองไผ่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา ซึ่งเป็นสถานที่ควบคุมพิเศษ ทำหน้าที่ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ต้องขังคดียาเสพติดให้โทษ จัดการศึกษาอบรมพัฒนาปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรม พร้อมทั้งฝึกวิชาชีพแก่ผู้ต้องขังโดยวิธีชุมชนบำบัด และดำเนินการทางทัณฑปฏิบัติควบคู่ไปกับการจัดสวัสดิการ ซึ่งดำเนินงานมาตั้งแต่ พ.ศ.2477 จนถึงปัจจุบัน พบว่าเรือนจำกลางคลองไผ่มีจำนวนผู้กระทำความผิดหรือผู้ต้องขัง มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี แต่จำนวนเจ้าหน้าที่มีเท่าเดิมคือ 150 คน ซึ่งมีผู้ต้องขังจำนวนกว่า 4,870 คน โดยกิจกรรมหนึ่งที่ทางเจ้าหน้าที่เรือนจำต้องปฏิบัติเป็นประจำคือ การนับจำนวนผู้ต้องขัง เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าผู้ต้องขังยังอยู่ครบ ไม่ได้ไปแอบอยู่ตามที่ต่างๆ หรือแอบไปทำร้ายร่างกายตนเอง และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้ต้องขังที่ทางเรือนจำได้วางแผนการดำเนินงานเอาไว้ โดยเจ้าหน้าที่จะทำการตรวจนับจำนวน 5 รอบต่อวัน ทำให้เรือนจำจำเป็นต้องหาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงเข้ามาช่วย จึงได้หารือร่วมกับสถาบันสหสรรพศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ในการจัดหาเครื่องมือและเทคโนโลยีที่มีความแม่นยำเข้ามาช่วยในการตรวจนับจำนวนผู้ต้องขังดังกล่าว

              อาจารย์ปริญญา กิตติสุทธิ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวางแผนและดิจิทัล สถาบันสหสรรพศาสตร์ มทร.อีสาน หนึ่งในทีมผู้พัฒนาโปรแกรม เปิดเผยว่า ชุดโปรแกรมตรวจจับใบหน้าเพื่อนับจำนวนผู้ต้องขังที่พัฒนาขึ้นนั้นเป็นความร่วมมือจากทีมอาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมระบบราง สถาบันสหสรรพศาสตร์ ร่วมกับอาจารย์และนักศึกษา จากสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ ได้ร่วมกันออกแบบและพัฒนาโปรแกรมตรวจจับใบหน้าฯ เพื่อใช้ตรวจนับจำนวนผู้ต้องขัง ตามความประสงค์ของเรือนจำกลางคลองไผ่ จ.นครราชสีมา ซึ่งมีผู้ต้องขังจำนวนกว่า 4,870 คนและจะทำการตรวจนับจำนวน 5 รอบต่อวัน

              สำหรับระบบตรวจจับใบหน้าเพื่อตรวจนับจำนวนผู้ต้องขังนี้ ใช้โปรแกรม Python โดยใช้ Face Detection Algorithm ในการเปรียบเทียบหน้าต้นฉบับ ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูงในการพัฒนาเพื่อตรวจจับใบหน้าของบุคคล โดยโปรแกรมสามารถแยกบุคคลได้อย่างแม่นยำและสามารถยืนยันตัวบุคคลได้ สามารถกำหนดช่วงเวลาการทำงานได้พร้อมทั้งออกรายงานการแสดงผลได้อย่างแม่นยำ ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกให้กับทางเรือนจำในการตรวจนับจำนวนผู้ต้องขังในแต่ละวันซึ่งมีจำนวนมากและมีเจ้าหน้าที่ปฎิบัติหน้าที่ดูแลผู้ต้องขังจำนวนจำกัด

               ซึ่งในระหว่างการทดสอบและปรับปรุงระบบ ได้ระดมความคิดร่วมกับ ผศ.ดร.จิระยุทธ สืบสุข คณบดีสถาบันสหสรรพศาสตร์ ดร.ธนนันต์ อยู่หว่าง ผู้ช่วยอธิการบดี เหล่าคณาจารย์วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และคุณเผด็จ หริ่งรอ ผู้บัญชาการเรือนจำกลางคลองไผ่ พร้อมเข้าตรวจสอบการใช้งานและร่วมทดสอบระบบการทำงานเพื่อให้สมบูรณ์แบบที่สุด โดยมีอาจารย์ประกาย นาดี เป็นตัวแทนส่งมอบชุดโปรแกรมตรวจจับใบหน้าเพื่อนับจำนวนผู้ต้องขัง ให้กับทางเรือนจำกลางคลองไผ่เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

                สำหรับหน่วยงานใดที่สนใจชุดโปรแกรมตรวจจับใบหน้าฯ หรือต้องการเทคโนโลยีเข้าไปสนับสนุนการทำงานในหน่วยงานของท่าน สามารถประสานงานมาได้ที่ อ.ปริญญา โทรศัพท์ 089-071-4592

ShareTweetShare
Previous Post

อว.แถลงข่าวจัดงาน “TechnoMart 2021” โชว์ผลงานนวัตกรรมที่คิดค้นขึ้นโดยคนไทย ผ่านภาพจำลองบนยานอวกาศ

Next Post

นวัตกรรม “เสื้อเย็นกาย” ตัวช่วยลดอุณหภูมิในร่างกายขณะสวมใส่ชุด PPE

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

2 weeks ago
99
ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

ระบบวิเคราะห์เสียงน้ำรั่วด้วย AI ผลงานวิจัยไทยคว้ารางวัลระดับนานาชาติ

5 months ago
22
i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

i FOUND PET แพลตฟอร์มช่วยเจ้าของตามหาสัตว์เลี้ยง

5 months ago
7
Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร
นวัตกรรมด้านความปลอดภัย

Q-CHANG (คิวช่าง) แพลตฟอร์มออนไลน์ศูนย์รวมช่างแบบครบวงจร

6 months ago
18
Load More
Next Post
นวัตกรรม “เสื้อเย็นกาย” ตัวช่วยลดอุณหภูมิในร่างกายขณะสวมใส่ชุด PPE

นวัตกรรม “เสื้อเย็นกาย” ตัวช่วยลดอุณหภูมิในร่างกายขณะสวมใส่ชุด PPE

NIA เผยไทยติดอันดับดัชนีนวัตกรรมโลก ขยับขึ้นสู่อันดับ 43 จาก 132 ประเทศทั่วโลก

NIA เผยไทยติดอันดับดัชนีนวัตกรรมโลก ขยับขึ้นสู่อันดับ 43 จาก 132 ประเทศทั่วโลก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.