mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“ซีทัช” (Z-Touch) สติกเกอร์ฆ่าเชื้อโควิด

“ซีทัช” (Z-Touch) สติกเกอร์ฆ่าเชื้อโควิด

0

              จากการรวมตัวกันของสามวิศวกรที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยีการฆ่าเชื้อ ร่วมกันคิดค้นและผลิตเครื่องฉายแสงฆ่าเชื้อโรคยูวีซีที่ถูกนำไปใช้ในสถานที่ต่างๆ พร้อมกับส่งออกไปยังหลายประเทศ หนึ่งในนั้นคือ “เกาหลีใต้”  ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และร่วมมือต่อยอดสู่การพัฒนา “ซีทัช” (Z-Touch) สติกเกอร์ฆ่าเชื้อโควิดที่ติดตาม “จุดสัมผัสร่วม” โดยมีเป้าหมายคือการยกระดับความปลอดภัยและสุขอนามัยของผู้คน

              วิษณุ จินตนาศิริกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ลีฟคลีน เทคโนโลยี จำกัด กล่าวว่า จากการศึกษาวิจัยพบว่า เชื้อไวรัสและแบคทีเรียจะแพ้ทาง “นาโนไอออน” ซึ่งจะเข้าไปทำลายโปรตีนของไวรัสรวมถึงผนังเซลล์ของแบคทีเรีย จึงเป็นจุดเริ่มต้นพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่จะนำไอออนไปบรรจุไว้เพื่อให้มีประจุมากขึ้น และทำลายเชื้อได้เร็วขึ้นเรียกว่า “สมาร์ทนาโนไอออน” จากนั้นทำการทดสอบสินค้าตั้งแต่เดือน เม.ย.2563

             สมาร์ทนาโนไอออนที่อยู่ในรูปแบบสติกเกอร์หรือแผ่นฆ่าเชื้อแบบแห้งนี้ เมื่อมีเชื้อโรคตกลงบนแผ่นจะถูกดูดลงสู่ชั้นล่างทันทีด้วยเทคโนโลยีไมโครพอรัสเลเยอร์ ซึ่งทำหน้าที่เสมือนหลุมดำ ทำให้เชื้อไม่คาบนพื้นผิว ลดการส่งต่อของเชื้อไวรัส ทำให้พื้นผิวของแผ่นซีทัชสะอาดตลอดเวลา ขณะที่กลไกการทำงานของสมาร์ทนาโนไอออนจะทำปฏิกิริยากับแอคทีฟอ๊อกซิเจน ทำลายโครงสร้างเชื้อโรคโดยสมบูรณ์ในระดับอาร์เอ็นเอและดีเอ็นเอ ทั้งนี้ ซีทัชมีอายุการใช้งาน 10,000 touches หรือเทียบเท่า 90 วัน

            ทั้งนี้ ซีทัชมีผลรับรองการฆ่าเชื้อ Human Coronavirus และผลการทดสอบจาก ALG LAB Group สหรัฐที่ยืนยันประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโควิด-19 ได้มากถึง 99.9% ภายใน 5 นาที นอกจากนั้นได้ผ่านการรับรองมาตรฐานจากสถาบันต่างๆ อาทิ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สหรัฐ, CE-Mark ยุโรป, SIAA ญี่ปุ่น รวมทั้งมีผลการทดลองในไทย โดยภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

             “บริษัทได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้อยู่ใน 4 รูปแบบคือ แผ่นฆ่าเชื้อสำหรับติดมือถือ แผ่นฆ่าเชื้อสำหรับติดประตู แผ่นฆ่าเชื้อสำหรับติดเคาน์เตอร์และแผ่นฆ่าเชื้อแบบอเนกประสงค์สำหรับตัดใช้ตามจุดสัมผัสร่วมทั้งหมด เหตุที่ต้องเป็นแผ่นแปะแบบสติกเกอร์เพราะมองในเรื่องความเป็นมิตรกับผู้ใช้คือใช้สะดวก ง่ายและปลอดภัย จึงออกแบบให้เป็นแผ่นแปะ นอกจากจะฆ่าเชื้อบนพื้นผิวแล้วยังฆ่าเชื้อบนพื้นผิวของมือที่ไปสัมผัสมากถึง 68%”

             ส่วนแผนการตลาดและการจัดจำหน่ายในประเทศไทยนั้น มีบริษัท มาซูม่า (ประเทศไทย) จำกัดเป็นตัวแทนจำหน่าย รวมทั้งจำหน่ายผ่านโชว์รูมเอสซีจีทั่วประเทศ โฮมโปร บุญถาวรและห้างโมเดิร์นเทรดอย่าง ดิเอ็มโพเรียม สยามพารากอน เดอะมอลล์และร้านค้าต่างๆ นอกจากนี้ยังมีช่องทางออนไลน์บนเว็บไซต์

             วิษณุ กล่าวต่อไปว่า การวิจัยและพัฒนายังไม่หยุดเพียงเท่านี้ เนื่องจากต้องการเป็น “ผู้นำ” ด้านการฆ่าเชื้อพร้อมกับพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับคนไทย จึงได้ต่อยอดสู่การพัฒนา “ฟิล์มใส” ติดตั้งบนหน้าจอโทรศัพท์มือถือ โดยได้รับผลการรับรองการฆ่าเชื้อโควิดจากแล็บฟอนเดเรฟาร์ ฝรั่งเศส รวมทั้งฟิลเตอร์เส้นใยสังเคราะห์กรองฆ่าเชื้อในอากาศสำหรับเครื่องปรับอากาศ ที่สามารถติดกับฟิลเตอร์เดิมได้เลย ทำให้เพิ่มฟังก์ชั่นที่ไม่ได้กรองแค่ฝุ่นแต่สามารถกรองไวรัสโควิดได้ด้วย ทั้งหมดนี้เตรียมออกสู่ตลาดภายในสิ้น ส.ค.นี้​​​

Share1Tweet1Share
Previous Post

นวัตกรรมหน้ากากนาโน “WIN-Masks” ป้องกันเชื้อแบคทีเรีย

Next Post

ดีป้าร่วมมือเทคซอส เชื่อมโยงดิจิทัลสตาร์ทอัพเข้ากับความต้องการของเมือง ขับเคลื่อนสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
ดีป้าร่วมมือเทคซอส เชื่อมโยงดิจิทัลสตาร์ทอัพเข้ากับความต้องการของเมือง ขับเคลื่อนสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ

ดีป้าร่วมมือเทคซอส เชื่อมโยงดิจิทัลสตาร์ทอัพเข้ากับความต้องการของเมือง ขับเคลื่อนสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะ

วว. โชว์ 3 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก “ข้าวไรซ์เบอรี่”

วว. โชว์ 3 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก “ข้าวไรซ์เบอรี่”

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.