mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
“ซินโครตรอน” วิจัยสมุนไพรไทย พบ 8 ชนิด มีฤทธิ์ต้านโควิด-19

“ซินโครตรอน” วิจัยสมุนไพรไทย พบ 8 ชนิด มีฤทธิ์ต้านโควิด-19

0

           นักวิจัย ซินโครตรอน ทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดสมุนไพร จำนวน 23 ชนิด พบว่าสามารถคัดเลือกสารสกัดจากสมุนไพร จำนวน 8 ชนิด ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า70% ในการต้านการเพิ่มจำนวนของไวรัสโคโรนาในสุกร ซึ่งมีโครงสร้างอนุภาคคล้ายกับ SARS-CoV-2 ด้วยทุนสนับสนุนจาก วช.

            ดร.วราภรณ์ ตัณฑนุช นักวิทยาศาสตร์ระบบลำเลียงแสง สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(อว.) เปิดเผยว่า ตนพร้อมทีมวิจัยจากสถาบันฯ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ดำเนินโครงการการใช้สมุนไพรประสิทธิภาพสูงในการต้านเชื้อไวรัสโควิด -19 โดยดำเนินทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร จำนวน 23 ชนิด ที่มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อไวรัสหลากหลายสายพันธุ์ ผลการทดสอบพบว่าสามารถคัดเลือกสารสกัดจากสมุนไพร จำนวน 8 ชนิด ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าร้อยละ 70 ในการต้านการเพิ่มจำนวนของไวรัสโคโรนาที่ก่อโรคในสุกร ซึ่งมีโครงสร้างอนุภาคคล้ายกับ SARS-CoV-2 ที่เวลาทดสอบการสัมผัสเชื้อไวรัสเพียง 5 นาที และการทดสอบในระดับเซลล์ไลน์พบอีกด้วยว่าสารสกัดบางชนิดฤทธิ์เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และบางชนิดมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดยกระตุ้นการสร้าง anti-inflammatory cytokines IL-10 mRNA มากขึ้น การวิเคราะห์องค์ประกอบของสมุนไพรเบื้องต้นด้วย Fourier Transform Infrared Spectroscopy พบว่าศึกษาสมุนไพรทั้ง 8 ชนิด มีองค์ประกอบของสารในกลุ่มเทอร์พีนอยด์เป็นหลัก

             รองศาสตราจารย์ ดร.พรสวรรค์ เหลืองวุฒิวงษ์ กล่าวอีกว่า งานวิจัยตอนนี้ อยู่ในขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพของสมุนไพร 8 ชนิดที่คัดเลือก นำไปทดสอบโดยตรงกับเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่ก่อโรคโควิด19 โดยภาควิชาจุลชีววิทยาและอิมมิวโนโลยีคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นศูนย์ตรวจคัดกรองและเพาะเลี้ยงไวรัส SARS-CoV-2 ที่มีห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยาตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับที่ 3 (Bio Safety Level 3; BSL-3) จึงมีความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงในการทดสอบประสิทธิภาพของยาหรือสารสกัดสมุนไพร ในการยับยั้งการเจริญของไวรัส การตรวจหาค่าความเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง (cell cytotoxicity) ในระดับหลอดทดลอง (in vitro assay)

             เมื่อทำการคัดเลือกสมุนไพรที่มีฤทธิ์การต้านเชื้อไวรัสสูงสุดได้แล้ว ทางทีมวิจัย จะทำการศึกษากลไกของสมุนไพรในการต้านเชื้อไวรัส โดยศาสตราจารย์.ดร.หนึ่ง เตียอำรุง สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มทส. กล่าวว่า การไขความลับนั้น ส่วนนึงสามารถทำได้ด้วยการถอดรหัสการแสดงออกของเซลล์ที่ได้รับสมุนไพรในระดับยีนส์ (Transcriptome) และ ดร.วราภรณ์ ตัณฑนุช เสริมว่า เทคโนโลยีการวิเคราะห์ขั้นสูง ประกอบด้วยเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน และเทคโนโลยีโอมิกส์ (โปรติโอมิกส์และเมตาโบโลมิกส์) จะให้ข้อมูลขนาดใหญ่ที่เป็นข้อมูลแบบองค์รวมของการติดตามเปลี่ยนแปลงสารชีวเคมีภายระดับเซลล์ทั้งหมดทั้งโปรตีนและสารโมเลกุลขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำให้เกิดความเข้าใจในกลไก หน้าที่ และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของสารชีวโมเลกุลเหล่านั้น และที่สำคัญคือข้อมูลดังกล่าวยังสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาการใช้ยาสมุนไพรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและแม่นยำ นำสู่ความปลอดภัยในการใช้งานจริง และเป็นแนวทางในการต่อยอดพัฒนาเป็นยาสมุนไพรที่ปลอดภัยและเพิ่มมูลค่าสมุนไพรไทยเพื่อนำมาใช้ทางการแพทย์ได้ในอนาคตต่อไป

             ด้าน ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า เนื่องจากประเทศไทยยังได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในปีงบประมาณ 2564 วช. ได้สนับสนุนให้หน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน และสถาบันต่าง ๆ ศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เพื่อช่วยยับยั้งและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19 โดยสนับสนุนการวิจัยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของสมุนไพรไทย เพื่อต้านเชื้อไวรัส ซึ่งขณะนี้คณะนักวิจัย กำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาวิจัยและทดสอบประสิทธิภาพและการออกฤทธิ์ของสมุนไพรไทยหลายชนิด

ShareTweetShare
Previous Post

CPF ชูนวัตกรรมเสริมประสิทธิภาพหลักสวัสดิภาพสัตว์ ต้นแบบผลิตอาหารปลอดภัย

Next Post

“ไทยคม” เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีจานรับสัญญาณดาวเทียมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
80
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
“ไทยคม” เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีจานรับสัญญาณดาวเทียมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล

"ไทยคม" เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีจานรับสัญญาณดาวเทียมอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทางทะเล

NOSTRA ส่งโซลูชั่น Online Map Service เสริมแกร่งธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์

NOSTRA ส่งโซลูชั่น Online Map Service เสริมแกร่งธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
19
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.