mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
นวัตกรรม “เตียงพลิกตะแคง ป้องกันแผลกดทับ” ฝีมือคนไทย

นวัตกรรม “เตียงพลิกตะแคง ป้องกันแผลกดทับ” ฝีมือคนไทย

0

             ประเทศไทยมีผู้ป่วยอัมพาตเพิ่มขึ้นปีละราว 1 แสนคน ในแต่ละปีต้องใช้งบประมาณด้านสาธารณสุขจำนวนมาก การดูแลผู้ป่วยอัมพาตจำเป็นต้องพลิกตัวเป็นประจำทุก 1-2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ ซึ่งการดูแลผู้ป่วยในเรื่องนี้ต้องเสียเวลาและแรงงานของพยาบาล หรือญาติผู้ป่วยไม่น้อย เพราะหากไม่ทำแรงดันกดทับและความชื้นสะสมจากการที่อยู่ในตำแหน่งเดิม ทำให้เกิดแผลกดทับได้ และยิ่งผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานด้วยแล้วหากเกิดแผลกดทับ แผลนั้นจะลุกลามได้รวดเร็วและรักษายากมากยิ่งขึ้น

            ด้วยตระหนักถึงความทรมานของผู้ป่วยที่เป็นแผลกดทับ และภาระของผู้ดูแลทั้งญาติและพยาบาล ผศ.พญ.นลินี โกวิทวนาวงษ์ แพทย์จากภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้ริเริ่มจัดทำโครงการวิจัย “เตียงพลิกตัวและวัสดุรองรับสำหรับผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้”

             โดยผศ.พญ.นลินี กล่าวว่า แม้ปัจจุบันจะมีอุปกรณ์ช่วยในการพยุงตัวผู้ป่วยและลดปัญหาแผลกดทับจำนวนหนึ่ง แต่ยังไม่พบรูปแบบเตียงที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจากการดมยาสลบเพื่อผ่าตัดให้กับผู้ป่วยพบว่าปัญหาแผลกดทับในห้องผ่าตัดเกิดขึ้นได้ถึง 12 % คนไข้มีแผลผ่าตัดแล้วไม่ควรมีแผลที่อื่นอีก จึงพยายามคิดค้นวัสดุที่จะช่วยกระจายแรง ประกอบกับอยู่ในพื้นที่ที่มีการปลูกยางพาราเยอะจึงลองดูว่าการนำยางพารามาปรับโมเลกุลเพื่อให้มีคุณสมบัติการกระจายแรง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับน่าจะทำได้ จึงเกิดเป็น ผลิตภัณฑ์ “Doctor N Medigel” เจลยางพาราเพื่อป้องกันแผลกดทับ และใช้จัดท่าผู้ป่วยในห้องผ่าตัด จากนั้นจึงได้ทำวิจัยต่อเนื่องร่วมกับอาจารย์สมคิด สมนักพงษ์ จากวิทยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร ร่วมพัฒนาคิดค้นและออกแบบเตียงสำหรับผู้ป่วยอัมพาตและป้องกันแผลกดทับ หลอมรวมความเป็น dynamic support surface ของเตียงในการพลิกเปลี่ยนจุดกด กับ static support surface ของเบาะเจลยางพารา ทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันแผลกดทับมีสูงขึ้น และที่สำคัญสามารถผ่อนแรงของผู้ดูแลในการยกตัวเพื่อพลิกตะแคงซึ่งปกติต้องใช้คน 2-3 คนแต่หากใช้เตียงนี้จะใช้คนเพียงคนเดียวสามารถพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยได้อย่างสบาย

              จากนั้นทางสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้สนับสนุนทุนวิจัยต่อยอดเพื่อติดตั้ง software smart bed ทำให้สามารถตั้งเวลาควบคุมเตียงได้แบบออร์โตเมติก และยังมีระบบ central control สามารถควบคุมเตียงหลายๆเตียงผ่านทางหน้าจอเดียว เพื่อลดภาระของพยาบาลที่ต้องดูแลผู้ป่วยหลายเตียงในเวลาเดียวกันในช่วงการระบาดโควิด-19 ในเวลานี้ทางผู้วิจัยคาดว่าเตียงพลิกตะแคงพร้อม software smart bed จะสามารถช่วยพยาบาลในการพลิกคว่ำผู้ป่วยโควิด-19 เพื่อช่วยหายใจได้ง่ายขึ้นทำให้สามารถลดจำนวนพยาบาลที่ต้องเสี่ยงเข้าไปดูแลผู้ป่วย ซึ่งขณะนี้ทางทีมงานได้พัฒนาคอนโทรลเลอร์และ software เพื่อให้ได้มาตรฐานเครื่องมือแพทย์และ software ทางการแพทย์ในระดับสากล เพื่อให้สามารถใช้ในหอผู้ป่วยวิกฤต หรือ โรงพยาบาลระดับ จตุตถภูมิ (ระดับร.พ.ศูนย์ หรือ โรงเรียนแพทย์)ได้ และในปลายเดือนกรกฎาคมนี้ เราจะสามารถติดตั้งที่โรงเรียนแพทย์ 2 แห่ง โดยทาง วช.ได้ให้ทุนวิจัยเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับสินค้านำเข้า และในอนาคตจะสามารถขยายตลาดไปยังต่างประเทศได้อีกด้วย โดย พญ.นลินีกล่าวเพิ่มเติมว่า การทำนวัตกรรมต้องไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่ต้องมีการพัฒนาอยู่เสมอ การจะฝ่าฟันให้พ้นหุบเหวนวัตกรรม การนำงานวิจัยลงจากหิ้งมาสู่การใช้จริงมิใช่เรื่องง่าย แต่โชคดีที่รัฐบาลมีหน่วยงานอย่าง วช.มาเสริมทำให้นักวิจัยสามารถหลุดพ้นจากหุบเหวนวัตกรรมได้

            ด้านดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า ผลงานวิจัยนี้ ถือว่าเป็นงานวิจัยประดิษฐ์คิดค้นที่เป็นความร่วมมือระหว่างนักวิจัยซึ่งเป็นแพทย์กับอาชีวศึกษา ที่ร่วมกันวิจัยพัฒนาสิ่งประดิษฐ์คิดค้นที่จะช่วยดูแลผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ซึ่งจะอำนวยความสะดวกและช่วยลดภาระของพยาบาลหรือญาติผู้ป่วยทั้งที่โรงพยาบาลและที่บ้าน ซึ่งสอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตของประเทศไทยที่กำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงวัย และจะมีจำนวนผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้น ซึ่งความสำเร็จของผลงานวิจัยนี้ ยังบ่งบอกว่า ความร่วมมือของนักวิจัยไทย สามารถทำให้เกิดนวัตกรรมทางการแพทย์เทียบชั้นเครื่องมือทางการแพทย์ระดับโลกได้

Share1Tweet1Share
Previous Post

วช.หนุนวิจัย มทร.ศรีวิชัย พัฒนา “โรงเพาะเห็ด” ด้วยเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม

Next Post

นวัตกรรมอาหาร “The Marble Booster” เนื้อลายหินอ่อนจากโปรตีนถั่วเหลือง

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
นวัตกรรมอาหาร “The Marble Booster” เนื้อลายหินอ่อนจากโปรตีนถั่วเหลือง

นวัตกรรมอาหาร “The Marble Booster” เนื้อลายหินอ่อนจากโปรตีนถั่วเหลือง

วช. ร่วมกับ มน. พัฒนา “นวัตกรรมยืดอายุทุเรียนสดแบบแกะพู” หวังส่งออกนอก

วช. ร่วมกับ มน. พัฒนา “นวัตกรรมยืดอายุทุเรียนสดแบบแกะพู” หวังส่งออกนอก

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.