mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มจธ. คิดค้นและออกแบบ “เครื่องทำน้ำแข็งสำหรับศัลยกรรมทรวงอก”

มจธ. คิดค้นและออกแบบ “เครื่องทำน้ำแข็งสำหรับศัลยกรรมทรวงอก”

0

            เครื่องทำน้ำแข็งอาจฟังดูแล้วไม่น่าเกี่ยวข้องกับการรักษาทางการแพทย์ แต่จริงๆ แล้ว น้ำแข็งมีความสำคัญยิ่งสำหรับศัลยกรรมทรวงอก

             ศ.ดร.สมชาย วงศ์วิเศษ อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กล่าวว่า การผ่าตัดที่ต้องเปิดช่องอกของผู้ป่วยนั้น จำเป็นต้องใช้น้ำแข็งเพื่อรักษาให้อวัยวะต่างๆ ยังคงสดขณะผ่าตัด แต่จะใช้น้ำแข็งที่ทำจากน้ำธรรมดาไม่ได้ต้องใช้น้ำเกลือที่ใช้ทางการแพทย์ (0.9% Normal Saline) เพราะเป็นความเข้มข้นที่เท่ากับความเข้มข้นของเกลือในร่างกายคน ที่ทำกันอยู่ทุกวันนี้เริ่มต้นด้วยการแช่น้ำเกลือนานประมาณ 3 ชั่วโมงเมื่อจะใช้ก็นำออกมาทุบให้แตกแล้วจึงใส่ลงไปที่ช่องอก เพื่อรักษาอวัยวะให้สดและถ้าเป็นการผ่าตัดหัวใจก็จะช่วยไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับผลกระทบขณะหัวใจหยุดเต้นระหว่างการผ่าตัดซึ่งแพทย์ต้องใช้ความระมัดระวังอย่างสูงในการใช้น้ำแข็งที่ผ่านการทุบเพราะน้ำแข็งอาจมีความแหลมคมซึ่งอาจไปทำลายเนื้อเยื่อหรือแม้กระทั่งอาจมีเศษวัสดุที่เกิดจากการทุบถุงใส่น้ำเกลือ รวมถึงการติดเชื้อต่างๆ ด้วย

             ศ.นพ.วิชัย เบญจชลมาศ อาจารย์ประจำหน่วยศัลยศาสตร์ทรวงอก ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โดยปกติน้ำแข็งที่ใช้ในการผ่าตัดหัวใจทำมาจากน้ำเกลือที่แช่ไว้ในช่องแช่แข็ง หรือช่องฟรีสในตู้เย็นนาน 3 – 4 ชม. เวลานำมาใช้ก็จะต้องใช้ท่อนเหล็กทุบก่อน ทำให้ก้อนน้ำแข็งมีความแหลมคม และไม่ละเอียดพอที่จะวางลงในช่องอกให้ครบทุกส่วน อีกทั้งยังเสี่ยงต่อการปนเปื้อนทำให้ติดเชื้อได้ จึงต้องการน้ำแข็งที่มีความเนียนและนุ่ม (Slush) ลักษณะคล้ายวุ้น สะอาด ปลอดภัย และทำความเย็นได้ดีกว่า

             ศ.ดร.สมชาย กล่าวว่า ตั้งแต่ที่ได้รับโจทย์จากทางทางแผนกศัลยกรรมทรวงอก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยเมื่อ 4 ปีที่ผ่านมา ก็ได้นำมาเป็นโจทย์ให้กับนักศึกษาที่ทำวิชาโครงงานในชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยโจทย์คือจะทำน้ำแข็งเพื่อใช้ในการผ่าตัดจากน้ำเกลือได้อย่างไร โดยที่ไม่ต้องไปสัมผัสกับน้ำแข็ง หรือให้ผ่านกระบวนการต่างๆ น้อยที่สุด เพื่อความสะอาดปลอดภัยและสะดวกในการใช้งานและน้ำแข็งที่ได้ต้องเป็น Slush ที่มีความนุ่มเนียน

            เครื่องทำน้ำแข็งดังกล่าว ประกอบด้วย อุปกรณ์หลักๆ 2 ส่วน คือ ชุดทำความเย็น และกลไกที่ทำให้น้ำเกลือในภาชนะเคลื่อนไหว โดยจะใช้แผ่นฟิล์มพลาสติกที่ผ่านการฆ่าเชื้อมารองรับน้ำเกลือ เพื่อไม่ให้น้ำเกลือสัมผัสกับภาชนะโดยตรง จากนั้นจึงใส่น้ำเกลือปริมาณ 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตรลงไปแล้วเริ่มเดินเครื่อง การทำความเย็นพร้อมกับการไม่ให้น้ำเกลือหยุดนิ่ง สามารถผลิตน้ำแข็งจากน้ำเกลือให้ออกมาในรูปลักษณะ Slush ตามที่ต้องการ ช่วยเพิ่มคุณภาพของน้ำแข็งที่ใช้ในการผ่าตัดและลดเวลาในการเตรียมน้ำแข็งโดยใช้เวลาในการผลิตน้ำแข็งเพียง 45 นาที

             นายธวัชชัย เขียวคำรพ ในฐานะผู้ร่วมพัฒนาเครื่องทำน้ำแข็งสำหรับใช้ในการผ่าตัด กล่าวว่าเครื่องดังกล่าว มีประโยชน์อย่างมากทางการแพทย์ ซึ่งในอดีตน้ำแข็งที่ใช้ในการผ่าตัดส่วนใหญ่จะมีปัญหาคือ น้ำแข็งที่ได้มีความแหลมคม เสี่ยงต่อการปนเปื้อน และที่สำคัญใช้เวลาในการทำน้ำแข็งนานมากต่อการผ่าตัดหนึ่งครั้ง

             คุณสมบัติเด่นของเครื่องก็คือ น้ำแข็งที่ได้สะอาด ปลอดภัย ปลอดเชื้อ ซึ่งจะเห็นว่าตัวอุปกรณ์ของเครื่องจะไม่สัมผัสกับน้ำเกลือเลย และเมื่อเปรียบเทียบระยะเวลาในการทำน้ำแข็งแบบเดิมจาก 3 – 4 ชม. เหลือเพียง 45 นาทีก็ได้น้ำแข็งตามที่ต้องการมาใช้ในการผ่าตัด จากนี้นอกจากจะนำไปใช้จริงในโรงพยาบาลแล้ว ยังได้รับความสนใจจากภาคเอกชนนำไปต่อยอดในเชิงพาณิชย์ผลิตเครื่องออกจำหน่ายต่อไป

 

ที่มา : KMUTT

ShareTweetShare
Previous Post

ไบโอเทคร่วมมือกับมหิดล คิดค้นแนวทางการผลิตวัคซีนในกุ้งทะเล

Next Post

แฟลช ฟูลฟิลล์เม้นท์ เปิดตัวบริการคลังสินค้าเทคโนโลยีแบบครบวงจร

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
82
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
แฟลช ฟูลฟิลล์เม้นท์  เปิดตัวบริการคลังสินค้าเทคโนโลยีแบบครบวงจร

แฟลช ฟูลฟิลล์เม้นท์ เปิดตัวบริการคลังสินค้าเทคโนโลยีแบบครบวงจร

วช. หนุนทุนม.ศิลปากร วิจัยยกระดับสมุนไพรไทยอบแห้งด้วย “พาราโบลาโดม”

วช. หนุนทุนม.ศิลปากร วิจัยยกระดับสมุนไพรไทยอบแห้งด้วย "พาราโบลาโดม"

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    65 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    52 shares
    Share 21 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
101

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.