mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
มหิดล ศึกษาคุณสมบัติทางยาจากเลือด “ตัวเงินตัวทอง” หวังพัฒนายาต้านไวรัสก่อโรคอุบัติใหม่

มหิดล ศึกษาคุณสมบัติทางยาจากเลือด “ตัวเงินตัวทอง” หวังพัฒนายาต้านไวรัสก่อโรคอุบัติใหม่

0

            คนและสัตว์มีความเกี่ยวข้องกันเป็น “One Health” ซึ่งเมื่อเกิดโรคอาจถ่ายทอดจากคนสู่สัตว์ และสัตว์สู่คนได้ สัตวแพทย์ในทุกวันนี้จึงไม่ได้ทำหน้าที่เพียงรักษาสัตว์ แต่เพื่อสุขภาวะของทุกคนบนโลกใบนี้ด้วย

          ปัญหาโรคติดเชื้อนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเชื้อไวรัส COVID-19 ก็เป็นอีกหนึ่งในโรคติดเชื้อที่กำลังทำให้โลกเกิดวิกฤติจากปัญหาการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางความพยายามผลิตวัคซีนจากภูมิคุ้มกัน (Antibody) ของมนุษย์เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัส COVID-19 กันอย่างแพร่หลาย รองศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์ อาจารย์ประจำภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีความพยายามที่จะวิจัยศึกษาคุณสมบัติทางยาจากเลือด “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) เพื่อดูฤทธิ์การยับยั้งเซลล์มะเร็ง แบคทีเรีย และไวรัสก่อโรคอุบัติใหม่ รวมทั้ง COVID-19 ซึ่งหากบรรลุผลได้ตามเป้าหมายจะกลายเป็นรายแรกของโลก

องศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์

          จากสมมุติฐานที่ว่า ทำไม “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) ถึงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้จากการกินซากสิ่งมีชีวิต และแม้ในน้ำเน่าเสีย ที่ผ่านมา รองศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์ จึงเกิดความคิดที่จะริเริ่มศึกษาถึงระบบภูมิคุ้มกันร่างกายของสัตว์เลื้อยคลานซึ่งอยู่ในประเภทสัตว์ป่าคุ้มครองดังกล่าว จึงได้ขออนุญาต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเลือดจาก “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) ที่มีลักษณะสมบูรณ์มาศึกษาทางโปรตีน (Proteomics) ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้เลือดตัวอย่างเพียงเล็กน้อย ก่อนปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ ซึ่งในเบื้องต้นพบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ตลอดจนเชื้อแบคทีเรียบางชนิด รวมถึงอาจต่อยอดเพื่อศึกษาการยับยั้งเชื้อไวรัส ซึ่งรวมถึง COVID-19 ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ได้อีกด้วย

          “ในขณะที่โลกมีการคิดค้นวัคซีนป้องกัน COVID-19 อย่างแพร่หลาย แต่การรักษายังคงเป็นไปตามอาการ ไม่มียาใดที่ใช้รักษาได้โดยตรง ในบางกรณีก็อาจรักษาโดยใช้ยาต้าน HIV ซึ่งก็ไม่ได้ผลในผู้ป่วยบางราย หากสามารถพัฒนายาใหม่ขึ้นมาได้ ก็จะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาที่จะเพิ่มความหวังให้กับมวลมนุษยชาติได้” รองศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์ กล่าว

          อย่างไรก็ดี แม้ “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) กำลังใกล้สูญพันธุ์จากการถูกล่า จนได้รับการคุ้มครองให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง และล่าสุดกำลังมีการผลักดันให้เกิดพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ที่จะทำให้ “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) กลายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์เชิงเศรษฐกิจ รองศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์ ได้แสดงความคิดเห็นว่า หากทำได้จะส่งผลดีต่อการวิจัยเพื่อพัฒนายาจากเลือด “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) ต่อไป เนื่องจากจะมีการแบ่งแยกอย่างชัดเจน ระหว่าง “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) ที่อยู่ในธรรมชาติ และ “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) ที่อยู่ในระบบฟาร์ม ซึ่งจะมีการดูแลที่ต่างวัตถุประสงค์กัน เพื่อให้สามารถทำวิจัยได้อย่างจริงจังในเรื่องดังกล่าวจนถึงปลายน้ำ หากอนาคตต้องใช้ประโยชน์จาก “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) การเพาะพันธุ์ในระบบฟาร์มจะตรงตามเป้าหมายและเหมาะสมกว่ามาก

          ก้าวต่อไปก่อนที่จะทำให้โลกได้เข้าใกล้ความมุ่งมั่นสู่ความเป็นจริงที่จะสามารถพัฒนายาจากเลือด “ตัวเงินตัวทอง” (Varanus salvator) เพื่อพิชิตนานาโรคร้ายที่กำลังเป็นปัญหาของมนุษย์ คือ การพิสูจน์ให้มั่นใจได้ว่านอกจากสามารถยับยั้งเซลล์มะเร็ง และแบคทีเรียบางชนิดแล้ว จะไม่ส่งผลข้างเคียงต่อเซลล์ปกติในร่างกายมนุษย์ ก่อนจะดำเนินการยื่นจดสิทธิบัตรให้แล้วเสร็จในเบื้องต้นภายในปลายปี 2564 นี้ ก่อนเดินหน้าศึกษาวิจัยต่อยอดเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านไวรัสที่ครอบคลุม 3 สายพันธุ์ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ โดยเริ่มจากไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก และ COVID-19 ต่อไป

          “ไม่ว่าจะเป็นแพทย์ หรือวิชาชีพใดๆ ก็สามารถทำประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติได้ หากมีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะใช้ความรู้ความสามารถที่มีอยู่ของตน มุ่งผลเพื่อผู้อื่น สิ่งที่ได้ คือ ความสุขใจที่ได้ทำในสิ่งที่ตนรัก และมีความถนัด ซึ่งจะทำให้ทุกวันของเราได้มีชีวิตอยู่อย่างมีความหมายต่อไป” รองศาสตราจารย์ ดร. นายสัตวแพทย์จิตรกมล ธนศักดิ์ กล่าวทิ้งท้าย

          ติดตามข่าวสารที่น่าสนใจจากมหาวิทยาลัยมหิดลได้ที่ www.mahidol.ac.th

ShareTweetShare
Previous Post

BlockFint พัฒนา “Thinker” โซลูชันด้านการเงิน ยกระดับการบริการของสถาบันการเงิน

Next Post

หุ่นยนต์เจียระไนพลอย 3 IN 1 ตอบโจทย์อุตสาหกรรมอัญมณี

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

3 months ago
23
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

3 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
79
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
22
Load More
Next Post
หุ่นยนต์เจียระไนพลอย 3 IN 1 ตอบโจทย์อุตสาหกรรมอัญมณี

หุ่นยนต์เจียระไนพลอย 3 IN 1 ตอบโจทย์อุตสาหกรรมอัญมณี

สวทช. ร่วมกับเครือข่ายนวัตกรรมยางพารา  เร่งสร้างนวัตกรรมส่งเสริมภาคการผลิตยางพารา

สวทช. ร่วมกับเครือข่ายนวัตกรรมยางพารา เร่งสร้างนวัตกรรมส่งเสริมภาคการผลิตยางพารา

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    63 shares
    Share 25 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    60 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    56 shares
    Share 22 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    53 shares
    Share 21 Tweet 13
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    50 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
90

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
31

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
23

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
18
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.