mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
Chemical Recycling นวัตกรรม “เปลี่ยน” พลาสติกใช้แล้ว “เป็น” วัตถุดิบตั้งต้นให้โรงงานปิโตรเคมี

Chemical Recycling นวัตกรรม “เปลี่ยน” พลาสติกใช้แล้ว “เป็น” วัตถุดิบตั้งต้นให้โรงงานปิโตรเคมี

0

             พลาสติก เป็นวัสดุที่มีคุณค่าและถูกสร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะทรัพยากรป่าไม้ ด้วยคุณสมบัติที่หลากหลาย พลาสติกจึงถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย ตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนยุคใหม่ในด้านต่าง ๆ พลาสติกให้ประโยชน์กับชีวิตคนเราอย่างมาก แต่การจัดการหลังการใช้งานนั้น ยังเป็นเรื่องที่เราต้องเร่งจัดการแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกต่อไป

            ปกติแล้วประเทศไทยจะมีขยะพลาสติกมากถึง 2,000,000 ตันต่อปี โดยมีขยะพลาสติกเพียงร้อยละ 25 เท่านั้นที่ถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์  และยิ่งในช่วงปิดเทอมและการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ในช่วงปีที่ผ่านมา ทำให้ขยะพลาสติกมีปริมาณเพิ่มเติม 15% และ 62% ตามลำดับ หากปล่อยให้สถานการณ์ดังกล่าวดำเนินต่อไป แนวโน้มความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสังคมและสิ่งแวดล้อมย่อมตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และนั่นทำให้ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันเพื่อพยายามลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และเตรียมหาแนวทางจัดการที่มีประสิทธิภาพ

            ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี ในฐานะผู้ผลิตเคมีภัณฑ์แนวหน้าของประเทศไทยและผู้เชี่ยวชาญด้านพอลิเมอร์ของภูมิภาค ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวมาโดยตลอด จึงมุ่งมั่นคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และโซลูชันที่จะช่วยหาทางออกให้กับประเด็นท้าทายระดับโลกนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ซึ่งการนำพลาสติกใช้แล้วมาผลิตเป็นวัตถุดิบตั้งต้นสำหรับธุรกิจปิโตรเคมี หรือ Chemical Recycling ก็เป็นอีกหนึ่งแนวปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ของบริษัท

อะไรคือ “การรีไซเคิลเชิงเคมี (Chemicals Recycling)” 

            มีการอธิบายกระบวนการรีไซเคิลพลาสติก (Plastic Recycling) ไว้ว่าเป็น “ขั้นตอนของการนำเศษหรือขยะพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ โดยนำพลาสติกเหลือใช้เหล่านั้นกลับมาขึ้นรูปเป็นชิ้นงานใหม่ โดยในบางครั้งชิ้นงานที่ได้นี้อาจจะแตกต่างจากชิ้นงานต้นแบบอย่างสิ้นเชิง” การแบ่งกลุ่มการรีไซเคิลพลาสติกโดยใช้ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้จากการนำพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่เป็นเกณฑ์ ทำให้สามารถจำแนกการรีไซเคิลพลาสติกออกได้เป็น 4 ประเภทหลัก ซึ่งอธิบายได้ดังนี้

  • การรีไซเคิลเชิงปฐมภูมิ (Primary Recycling) การนำพลาสติกเหลือใช้ซึ่งมีชนิดเดียวกันและไม่มีสิ่งปนเปื้อน ที่เกิดในกระบวนการผลิตหรือขึ้นรูปกลับมาใช้ซ้ำภายในโรงงาน โดยสามารถนำมาใช้ซ้ำทั้งหมดหรือเติมผสมกับเม็ดใหม่ที่อัตราส่วนต่าง ๆ

  • การรีไซเคิลเชิงทุติยภูมิ (Secondary Recycling) เป็นการนำพลาสติกที่ผ่านการใช้งานแล้วมาทำความสะอาด บด หลอมและขึ้นรูปกลับไปเป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกอีกครั้ง

  • การรีไซเคิลแบบตติยภูมิ (Tertiary Recycling) คือ การรีไซเคิลที่ใช้สารเคมีหรือความร้อนเพื่อทำลายพันธะไฮโดรคาร์บอนของพลาสติกที่ใช้งานแล้ว

  • การรีไซเคิลแบบจตุภูมิ (Quaternary Recycling) พลาสติกสามารถนำมาเผาไหม้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน ทำให้ลดปริมาณเชื้อเพลิงที่ต้องใช้ในการเผาขยะ

            ในส่วนของการรีไซเคิลเชิงเคมี (Chemicals Recycling) จัดอยู่ในประเภทของการรีไซเคิลแบบตติยภูมิ (Tertiary Recycling) โดยการรีไซเคิลพลาสติกทุกชนิดที่กล่าวไปนั้นได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกได้แล้ว ยังเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) อีกด้วย

             การรีไซเคิลเชิงเคมี (Chemical Rrecycling) อาศัยการเปลี่ยนพอลิเมอร์ให้กลายเป็นมอนอเมอร์ (Monomer) หรือวัตถุดิบตั้งต้น โดยการนำวัสดุพลาสติกเหลือใช้มาทำปฏิกิริยากับสารเคมีบางประเภท ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม เพื่อให้เกิดการแตกสลายของโมเลกุลขนาดใหญ่ หรือทำให้โครงสร้างสายโซ่ของพอลิเมอร์ เกิดการขาดหรือแตกออก (Depolymerisation) กลายเป็นมอนอเมอร์ (Monomer) หรือโอลิโกเมอร์ (Oligomer) โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้จะแตกต่างกัน และถูกทำให้บริสุทธิ์โดยการกลั่นและตกผลึก เพื่อให้ได้เป็นสารตั้งต้นที่มีคุณภาพสูงและสามารถนำไปใช้ในการผลิตเป็นเม็ดพลาสติกใหม่ได้

            เมื่อวันที่ 28 มกราคมที่ผ่านมา ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี ได้เปิดตัวโรงงานทดสอบการผลิต (Demonstration Plant) แห่งแรกในประเทศไทย ในพื้นที่บริเวณโรงงาน จังหวัดระยอง เพื่อใช้ในการพัฒนาและทดสอบเทคโนโลยีรีไซเคิลพลาสติกสำหรับกระบวนการ หรือที่เรียกว่า การรีไซเคิลเชิงกล(Chemical Recycling) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนพลาสติกใช้แล้วเป็นวัตถุดิบตั้งต้น (Recycled Feedstock) ที่สามารถนำกลับมาผลิตเม็ดพลาสติกใหม่ (Virgin Plastic Resin) สำหรับโรงงานปิโตรเคมี และในเบื้องต้น ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี ได้พัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีรีไซเคิลพลาสติกชั้นสูงนี้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้สารเร่งปฏิกิริยาทำให้กระบวนการรีไซเคิลมีอุณหภูมิต่ำ จึงช่วยลดการใช้พลังงาน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และช่วยลดปัญหาการสะสมของปริมาณขยะพลาสติกในประเทศ

             โรงงานทดสอบการผลิตดังกล่าวมีกำลังการผลิต Recycled Feedstock ประมาณ 4,000 ตันต่อปี และพร้อมที่จะขยายกำลังผลิตในอนาคต ทั้งนี้ โครงการดังกล่าว ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี  ได้ร่วมมือกับ Partner ซึ่งเป็นสตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยีที่ร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิล และจัดตั้งบริษัท Circular Plas Co., Ltd. เพื่อดำเนินธุรกิจรีไซเคิลพลาสติกผ่านกระบวนการรีไซเคิลทางเคมี (Chemical Recycling)

ที่มา: SCG

Share1Tweet1Share
Previous Post

หุ่นยนต์ RAIBO-X ฆ่าไวรัสโควิดด้วยแสง UV-C

Next Post

องค์การเภสัชกรรม พัฒนาวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย สำเร็จ!

Wanwisa Chanpraprai

Wanwisa Chanpraprai

Related Posts

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

4 months ago
30
นวัตกรรมด้านพลังงาน

นวัตกรรมดัดแปลงเครื่องยนต์รถเก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5 แก้ปัญหาระยะยาว

4 months ago
37
แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

แมงกานีสเซ็นส์ (Mn Sense) ชุดตรวจไอออนแมงกานีสปนเปื้อนในแหล่งน้ำ นวัตกรรมนาโนเทคตอบโจทย์อุตสาหกรรมชุดตรวจ

4 months ago
19
วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล
นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม

วว. จับมือ พันธมิตร ใช้นวัตกรรมแก้ปัญหาขยะชุมชน สร้างศูนย์ต้นแบบคัดแยกและแปรรูปวัสดุรีไซเคิล

5 months ago
29
Load More
Next Post
องค์การเภสัชกรรม พัฒนาวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย สำเร็จ!

องค์การเภสัชกรรม พัฒนาวัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย สำเร็จ!

NIA เปิดโพล 3 นวัตกรรมที่คนไทยต้องการมากที่สุดช่วงโควิด-19

NIA เปิดโพล 3 นวัตกรรมที่คนไทยต้องการมากที่สุดช่วงโควิด-19

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.