mailto:ads@thaiinnovation.center mailto:ads@thaiinnovation.center
THAI INNOVATION CENTER
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    AIS-ZTE ทดสอบ URLLC โชว์ความหน่วงต่ำ 1 มิลลิวินาทีบนเครือข่าย 5G คลื่น 2.6 GHz รายแรกในไทย

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    “อินเทล” ชวนปลดล็อก 4 ความเชื่อและความเข้าใจผิดๆ เกี่ยวกับ 5G

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    AIS พัฒนาความเร็วของ “5G mmWave” ได้ถึงระดับความเร็วที่ 4 Gbps รายแรกในไทย

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    Ericsson พัฒนาโครงข่าย 5G ให้กับ DTAC

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G NR Physical Cell ID (PCI)

    5G Network Slicing

    5G Network Slicing

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    5G กับการดำเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพหลักของเทคโนโลยี 5G (KPI)

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ส่วนประกอบสำหรับมือถือที่รองรับ 5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

    ในประเทศไทยใช้คลื่นอะไรบ้างสำหรับ5G

  • ติดต่อเรา
No Result
View All Result
TIC
No Result
View All Result
เข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อค

นวัตกรรมเข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อคผ่านผิวหนังโดยใช้เครื่องอัลตราซาวด์นำ

0

     โรคนิ้วล็อค (Trigger finger) เป็นอาการที่นิ้วเกิดล็อคเมื่องอนิ้ว แล้วไม่สามารถกลับมาเหยียดตรงได้ง่าย โดยเป็นโรคที่หลาย ๆ คนอาจเผชิญโดยไม่รู้ตัว เกิดจากพฤติกรรมที่ใช้นิ้วมือเป็นเวลานานๆ ไม่พัก เช่น คุยแชทบนสมาร์ทโฟน ใช้คอมพิวเตอร์พิมพ์งาน หิ้วของหนักๆ เป็นประจำ หรือทำงานที่ต้องออกแรงกดที่นิ้วมือ เป็นต้น โดยสาเหตุเกิดมาจากการอักเสบหนาตัวของปลอกเอ็นกล้ามเนื้อที่นิ้ว ทำให้เอ็นและกล้ามเนื้อที่อยู่ภายในไม่สามารถยืดหดได้ตามปกติ ซึ่งปกติสามารถหายหรืออาการบรรเทาได้เองยกเว้นในระดับที่รุนแรงที่จะต้องทำการรักษาด้วยการผ่าตัดปลอกหุ้มเส้นเอ็น ซึ่งการผ่าตัดแบบดั้งเดิม (Open trigger finger release) จะเป็นการผ่าตัดแบบเปิด มีโอกาสปวดหลังการผ่าตัด และใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์กว่าจะกลับมาใช้งานได้ตามปกติ นอกจากนี้ ยังมีโอกาสเกิดพังผืดบริเวณที่ผ่าตัดได้ในอนาคตได้

โรคนิ้วล็อค

เข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อคผ่านผิวหนังโดยใช้เครื่องอัลตราซาวด์นำคืออะไร

นวัตกรรมเข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อค

     เข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อคผ่านผิวหนังโดยใช้เครื่องอัลตราซาวด์นำเป็นนวัตกรรมที่ถูกคิดค้นโดย นพ.นรฤทธิ์ ล้วนจำเริญ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี ที่ช่วยรักษาโรคนิ้วล็อคให้หายขาดได้ ใน 5 นาที และไม่จำเป้นต้องมีแผลเปิด ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดสามารถใช้งานมือได้ทันทีแบบปกติในอีก 2 วัน หลังการผ่าตัด

ข้อดีของการใช้งานเข็มผ่าตัดรักษาโรคนิ้วล็อคผ่านผิวหนังโดยใช้เครื่องอัลตราซาวด์นำเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบปกติ

  • สามารถทำการรักษาได้ภายใน 5 นาที
  • สามารถใช้ผ่าตัดแทนใบมีดผ่าตัดได้โดยไม่จำเป็นต้องมีแผลเปิด
  • สามารถมองเห็นโครงสร้างที่สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นเส้นเอ็นปลอกหุ้มเส้นเอ็น เส้นเลือด และเส้นประสาท ผ่านเครื่องอัลตราซาวนด์ได้ตลอดเวลา
  • มีความแม่นยำสูง ไม่มีแผลเย็บ ไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื้อโดยรอบ ลดอาการปวดหลังผ่าตัด ลดปริมาณการใช้ยาแก้ปวด ลดผลแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นจากการผ่าตัด และหายจากอาการนิ้วล็อกทันที
  • ผู้รับการรักษาฟื้นตัวได้เร็ว สามารถใช้งานนิ้วมือได้ตามปกติภายใน 2 วันหลังผ่าตัด
  • หลังการผ่าตัดนิ้วมือสามารถโดนน้ำได้ตามปกติหลังครบ 24 ชั่วโมง

Contact
นพ.นรฤทธิ์ ล้วนจำเริญ
แพทย์เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู
ศูนย์กล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์

Tel : 02-944-7111 ต่อ 1333

E-mail : –

ที่มา : mgronline.com, phyathai.com

Share1Tweet1Share
Previous Post

Naso-articulometer เพื่อเด็กปากแหว่งเพดานโหว่

Next Post

นวัตกรรมเส้นใยต่อต้านแบคทีเรีย

thaiinnovation.center

thaiinnovation.center

Related Posts

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

จุฬาฯ เปิดตัวนวัตกรรม “ถุงมือพาร์กินสันลดสั่น” ลดอาการมือสั่นได้โดยอัตโนมัติ

4 months ago
24
นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรมคัดกรองมวลกระดูกแบบพกพา เครื่องแรกของโลก ฝีมือนักวิจัย มจธ. และ ม.คานาซาวา

4 months ago
17
นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม “โมเลกุลมณีแดง” ต้านเซลล์ชราพร้อมทดสอบในคนปีนี้

4 months ago
81
นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต
นวัตกรรมด้านสุขภาพ

นวัตกรรม AICute ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

4 months ago
23
Load More
Next Post
นวัตกรรมเส้นใยต่อต้านแบคทีเรีย

นวัตกรรมเส้นใยต่อต้านแบคทีเรีย

ZeekDoc

ZeekDoc แอพพลิเคชั่นสำหรับค้นหาหมอใกล้บ้านและนัดหมายทันที

Discussion about this post

Popular Post

  • Z-SIZE LADIES

    Z-SIZE LADIES II: BMI TIMELINE & โปรแกรมจําลองรูปร่างของสตรี แบบ 3 มิติ

    64 shares
    Share 26 Tweet 16
  • Thai School Lunch ระบบแนะนำเมนูอาหารเที่ยงสำหรับโรงเรียนแบบอัตโนมัติ

    61 shares
    Share 24 Tweet 15
  • 15 คำศัพท์เทคโนโลยี 2020 ! TECH BUZZWORDS

    57 shares
    Share 23 Tweet 14
  • ความแตกต่างของ Stand Alone และ Non-Standalone 5G

    54 shares
    Share 22 Tweet 14
  • รู้หรือยัง iPhone ก็มี Code ลับ สำหรับดูสัญญาณโทรศัพท์

    51 shares
    Share 20 Tweet 13

Browse by Tag

Innovation นวัตกรรมการเกษตร

ระบบตรวจจับ และแจ้งเตือนช้างป่า “ดูแล”

May 25, 2023
99

เครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส์ นวัตกรรมตรวจวิเคราะห์กลิ่นดิจิทัลฝีมือคนไทย

February 23, 2023
33

ชุดทดสอบสารปนเปื้อนยาฆ่าแมลงในน้ำ นวัตกรรมเพื่อเกษตรยั่งยืนและปลอดภัย

February 22, 2023
24

SCG จับมือ SC ดันนวัตกรรมเติมอากาศดีให้บ้าน ผลักดันยอดขาย 100 ล้านบาท

February 22, 2023
30

นวัตกรรมหอมแดงอบแห้งพร้อมใช้ พร้อมสร้างมูลค่าเพิ่มนำส่วนเหลือทิ้งผลิตเครื่องสำอางและเวชภัณฑ์

February 21, 2023
20
No Result
View All Result
  • HOME
  • ข่าวเทคโนโลยี
  • นวัตกรรมโดยคนไทย
    • นวัตกรรมอุตสหกรรม
    • นวัตกรรมพลังงาน
    • นวัตกรรมด้านเกษตร
    • นวัตกรรมด้านสุขภาพ
    • นวัตกรรมด้านขนส่ง
    • นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม
  • 5G ในประเทศไทย
  • ติดต่อเรา

© 2020 TIC - ศูนย์รวมนวัตกรรมคนไทยเพื่อคนไทย by Thai innovation TIC.