“ฟองน้ำที่ผลิตจากเส้นใยของผั
“เริ่มแรกมาจากช่วงปิดเทอม กลุ่มเราต้องการหาประสบการณ์
ธนัชญา เสริมว่า “จากที่เราไปศึกษาข้อมูลมา แต่ละครัวเรือนมีการเปลี่
“จึงเป็นที่มาของการมิกซ์แอนด์
โดยหลักการพัฒนา ‘ฟองน้ำจากผักตบชวา’ จะเริ่มจากการเก็บรวบรวมผั
“สิ่งที่เราบอกว่ามันไกลตัว จริงๆ แล้วคือมันใกล้ตัวมากๆ มองออกนอกหน้าต่างก็เห็นแล้วว่า นี่คือสิ่งแวดล้อม คือถ้าเราอยากให้โลกเรามีสีเขี
“อยากให้ทุกคนเชื่อในตัวเอง ซึ่งตอนแรกเราก็คิดว่า ไอเดียเราอาจไม่ได้ดีมากมายอะไร แต่จริงๆ แค่คิดออกมาได้ และศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมขึ้น มันก็มีหนทางที่สามารถทำได้แล้ว อยากให้ทุกคนเชื่อในตัวเองว่า เราเป็นจุดเปลี่ยนแปลงได้” สิรินัดดา เสริม
“อยากให้ทุกคนร่วมมือกัน ยกตัวอย่างเช่น ฟองน้ำพลาสติก แค่ในเมืองไทยปีหนึ่งก็มีคนใช้
นายยาช โลเฮีย ประธานคณะกรรมการด้านการดำเนินงานที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแล อินโดรามา เวนเจอร์ส กล่าวว่า “ขอแสดงความยินดีกับน้องๆ ที่เป็นเด็กรุ่นใหม่ที่กล้าคิด กล้าแสดงออก และมีความกระตือรือร้นในการต่อยอดแนวความคิดที่จะช่วยแก้ปัญหาสังคมและส่งเสริมนวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจหมุนเวียนในหลากหลายอุตสาหกรรม รวมทั้งการรีไซเคิล PET โดยนวัตกรรมโซลูชั่น ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อสังคม อีกทั้งยังส่งเสริมให้มีการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างดี ซึ่งไอวีแอลมีความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ในด้านการรีไซเคิลและเศรษฐกิจหมุนเวียนให้กับคนรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน และสังคมส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป”
ทั้งนี้ โครงการประกวดนวัตกรรมเศรษฐกิจหมุนเวียน จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงประเด็นรอบด้านของเศรษฐกิจหมุนเวียน พร้อมทั้งช่วยพัฒนาทักษะให้กับนักนวัตกรรมรุ่นใหม่ในการพัฒนาโซลูชั่นที่ส่งผลกระทบเชิงบวกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยอินโดรามา เวนเจอร์ส ร่วมจัดการแข่งขันกับพันธมิตรระดับนานาชาติ ได้แก่ ศูนย์ปฏิบัติการ SDG Lab แห่งวิทยาลัยโลกคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ระดับภูมิภาคว่าด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความยั่งยืนของซีมีโอ (SEAMEO Regional Centre for Sufficiency Economy Philosophy for Sustainability) สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF)
Discussion about this post